พระไตรปิฎกและอรรถกถาแปล ฉบับมหามกุฏราชวิทยาลัย

[เล่มที่ 27] พระสุตตันตปิฎก สังยุตตนิกาย ขันธวารวรรค เล่ม ๓

 
บ้านธัมมะ
วันที่  29 ส.ค. 2564
หมายเลข  36301
อ่าน  924

[เล่มที่ 27] พระสุตตันตปิฎก สังยุตตนิกาย ขันธวารวรรค เล่ม ๓

ขอนอบน้อมแด่พระผู้มีพระภาคอรหันตสัมมาสัมพุทธเจ้าพระองค์นั้น


  ข้อความที่ 1  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 6 ก.ย. 2564

๑. ขันธสังยุต มูลปัณณาสก์

นกุลปิตุวรรคที่ ๑

๑. นกุลปิตุสูตร ว่าด้วยกายเปรียบด้วยฟองไข่

๒. เทวทหสูตร ว่าด้วยการกําจัดฉันทราคะในขันธ์ ๕

๓. หลิททิกานิสูตรที่ ๑ ว่าด้วยลักษณะมุนี

๔. หลิททิการนิสูตร ที่ ๒ ว่าด้วยผู้สําเร็จล่วงส่วน

๕. สมาธิสูตร ว่าด้วยสมาธิเป็นเหตุเกิดปัญหา

๖. ปฏิสัลลานสูตร ว่าด้วยการหลีกเร้นเป็นเหตุเกิดปัญญา

๗. อุปาทานปริตัสสนาสูตรที่ ๑ ว่าด้วยความสะดุ้งและไม่สะดุ้ง

๘. อุปาทานปริตัสสนาสูตรที่ ๒ ว่าด้วยความสะดุ้งและไม่สะดุ้ง

๙. อตีตานาคตปัจจุปัุนนสูตรที่ ๑ ว่าด้วยความเป็นอนิจจังแห่งขันธ์ ๕ ในสามกาล

๑๐. อตีตานาคตปัจจุปันนสูตรที่ ๒ ว่าด้วยความเป็นทุกข์แห่งขันธ์ ๕ ในสามกาล

๑๑. อตีตานาคตปัจจุปันนสูตรที่ ๓ ว่าด้วยความเป็นอนัตตาแห่งขันธ์ ๕ ในสามกาล

 
  ข้อความที่ 2  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 6 ก.ย. 2564
 
  ข้อความที่ 3  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 6 ก.ย. 2564

ภารวรรคที่ ๓

๑. ภารสูตร ว่าด้วยขันธ์ ๕ เป็นภาระ

๒. ปริญญาสูตร ว่าด้วยธรรมที่ควรกําหนดรู้และความกําหนดรู้

๓. ปริชานสูตร ว่าด้วยผู้ไม่ควรและผู้ควรสิ้นทุกข์

๔. ฉันทราคสูตร ว่าด้วยการละฉันทราคะในขันธ์ ๕

๕. อัสสาทสูตรที่ ๑ ว่าด้วยความปริวิตกของพระโพธิสัตว์เกี่ยวกับขันธ์ ๕

๖. อัสสาทสูตรที่ ๒ ว่าด้วยสิ่งที่พระพุทธองค์ทรงค้นพบ

๗. อัสสาทสูตรที่ ๓ ว่าด้วยคุณโทษและเครื่องสลัดออกแห่งขันธ์ ๕

๘. อภินันทนสูตร ว่าด้วยผลแห่งความเพลิดเพลินและไม่เพลิดเพลินในขันธ์ ๕

๙. อุปปาทสูตร ว่าด้วยความเกิดและความดับทุกข์

๑๐. อฆมูลสูตร ว่าด้วยทุกข์และมูลเหตุแห่งทุกข์

๑๑. ปภังคุสูตร ว่าด้วยความสลายและไม่สลายแห่งทุกข์

 
  ข้อความที่ 4  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 6 ก.ย. 2564

นตุมหากวรรคที่ ๔

๑. นตุมหากสูตรที่ ๑ ว่าด้วยขันธ์ ๕ ไม่ใช่ของใคร

๒. นตุมหากสูตรที่ ๒ ว่าด้วยการละขันธ์ ๕ มิใช่ของใคร

๓. ภิกขุสูตรที่ ๑ ว่าด้วยเหตุได้ชื่อว่าเป็นผู้กําหนัดขัดเคืองและลุ่มหลง

๔. ภิกขุสูตรที่ ๒ ว่าด้วยเหตุได้ชื่อว่าเป็นผู้กําหนัดขัดเคืองและลุ่มหลง

๕. อานันทสูตรที่ ๑ ว่าด้วยความเป็นอนิจจังแห่งขันธ์ ๕

๖. อานันทสูตรที่ ๒ ว่าด้วยความเป็นอนิจจังแห่งขันธ์ ๕ ในสามกาล

๗. อนุธรรมสูตรที่ ๑ ว่าด้วยความหน่ายในขันธ์ ๕

๘. อนุธรรมสูตรที่ ๒ ว่าด้วยการพิจารณาเห็นอนิจจังในขันธ์ ๕

๙. อนุธรรมสูตรที่ ๓ ว่าด้วยการพิจารณาเห็นทุกข์ในขันธ์ ๕

๑๐. อนุธรรมสูตรที่ ๔ ว่าด้วยการพิจารณาเห็นอนัตตาในขันธ์ ๕

 
  ข้อความที่ 5  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 6 ก.ย. 2564

อัตตทีปวรรคที่ ๕

๑. อัตตทีปสูตร ว่าด้วยการพึ่งตนพึ่งธรรม

๒. ปฏิปทาสูตร ว่าด้วยข้อปฏิบัติเพื่อความเกิดและความดับสักกายทิฏฐิ

๓. อนิจจสูตรที่ ๑ ว่าด้วยความเป็นไตรลักษณ์แห่งขันธ์ ๕

๔. อนิจจสูตรที่ ๒ ว่าด้วยความเป็นไตรลักษณ์แห่งขันธ์ ๕

๕. สมนุปัสสนาสูตร ว่าด้วยการพิจารณาเห็นอุปาทานขันธ์ ๕

๖. ปัญจขันธสูตร ว่าด้วยขันธ์และอุปาทานขันธ์ ๕

๗. โสณสูตรที่ ๑ ว่าด้วยขันธ์ ๕ มิใช่ของเรา

๘. โสณสูตรที่ ๒ ว่าด้วยผู้ควรยกย่องและไม่ควรยกย่องเป็นสมณพราหมณ์

๙. นันทิขยสูตรที่ ๑ ว่าด้วยการสิ้นความยินดีเป็นเหตุหลุดพ้นจากทุกข์

๑๐. นันทิขยสูตรที่ ๒ ว่าด้วยการสิ้นความยินดีเป็นเหตุหลุดพ้นจากทุกข์

 
  ข้อความที่ 6  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 6 ก.ย. 2564
 
  ข้อความที่ 7  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 6 ก.ย. 2564

อรหันตวรรคที่ ๒

๑. อุปาทิยสูตร ว่าด้วยการถูกมารผูกมัดเพราะถือมั่น

๒. มัญญมานสูตร ว่าด้วยการถูกมารผูกมัดเพราะสําคัญในขันธ์ ๕

๓. อภินันทมานสูตร ว่าด้วยการถูกมารผูกมัดเพราะมัวเพลิดเพลิน

๔. อนิจจสูตร ว่าด้วยการละความพอใจในสิ่งเป็นอนิจจัง

๕. ทุกขสูตร ว่าด้วยการละความพอใจในสิ่งที่เป็นทุกข์

๖. อนัตตสูตร ว่าด้วยการละความพอใจในสิ่งเป็นอนัตตา

๗. อนัตตนิยสูตร ว่าด้วยการละความพอใจในสิ่งมิใช่ของตน

๘. รชนิยสัณฐิตสูตร ว่าด้วยการละความพอใจในสิ่งจูงใจให้กําหนัด

๙. ราธสูตร ว่าด้วยการไม่มีอหังการมมังการและมานานุสัย

๑๐. สุราธสูตร ว่าด้วยการมีใจปราศจากอหังการมมังการและมานานุสัย

 
  ข้อความที่ 8  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 6 ก.ย. 2564
 
  ข้อความที่ 9  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 6 ก.ย. 2564

เถรวรรคที่ ๔

๑. อานันทสูตร ว่าด้วยปัจจัยให้มีและไม่ให้มีตัณหามานะทิฏฐิ

๒. ติสสสูตร ว่าด้วยปัจจัยให้เกิดและไม่ให้เกิดโสกะ

๓. ยมกสูตร ว่าด้วยพระขีณาสพตายแล้วสูญหรือไม่

๔. อนุราธสูตร ว่าด้วยสัตว์บุคคลไม่มีในขันธ์ ๕

๕. วักกลิสูตร ว่าด้วยการเห็นธรรมชื่อว่าเห็นพระพุทธเจ้า

๖. อัสสชิสูตร ว่าด้วยความเป็นอนิจจังแห่งเวทนา

๗. เขมกสูตร ว่าด้วยไม่มีตนในขันธ์ ๕

๘. ฉันนสูตร ว่าด้วยเหตุที่เรียกว่าเป็นสัมมาทิฏฐิ

๙. ราหุลสูตรที่ ๑ ว่าด้วยการไม่มีอหังการมมังการและมานานุสัย

๑๐. ราหุลสูตรที่ ๒ ว่าด้วยการรู้การเห็นที่ทําให้ปราศจากอหังการมมังการและมานานุสัย

 
  ข้อความที่ 10  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 7 ก.ย. 2564
 
  ข้อความที่ 11  
  ข้อความที่ 12  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 7 ก.ย. 2564

ธรรมกถิกวรรคที่ ๒

๑. อวิชชาสูตร ว่าด้วยความหมายของอวิชชา

๒. วิชชาสูตร ว่าด้วยความหมายของวิชชา

๓. ธรรมกถิกสูตรที่ ๑ ว่าด้วยเหตุที่เรียกว่า พระธรรมกถึก

๔. ธรรมกถิกสูตรที่ ๒ ว่าด้วยเหตุที่เรียกว่า พระธรรมกถึก

๕. พันธนสูตร ว่าด้วยเครื่องจองจํา คือขันธ์ ๕

๖. ปริมุจจิตสูตรที่ ๑ ว่าด้วยการพิจารณาเห็นขันธ์ ๕ เพื่อความหลุดพ้น

๗. ปริมุจจิตสูตรที่ ๒ ว่าด้วยการพิจารณาเห็นขันธ์ ๕ เพื่อความหลุดพ้น

๘. สังโยชนสูตร ว่าด้วยสังโยชน์และธรรมเป็นที่ตั้งแห่งสังโยชน์

๙. อุปาทานสูตร ว่าด้วยอุปาทาน และธรรมเป็นที่ตั้งแห่งอุปาทาน

๑๐. สีลสูตร ว่าด้วยธรรมที่ควรใส่ใจโดยแยบคาย

๑๑. สุตวาสูตร ว่าด้วยธรรมที่ควรใส่ใจโดยแยบคาย

๑๒. กัปปสูตรที่ ๑ ว่าด้วยการรู้การเห็น เป็นเหตุไม่มีอหังการ มมังการ และมานานุสัย

๑๓. กัปปสูตรที่ ๒ ว่าด้วยการรู้การเห็น เป็นเหตุปราศจากอหังการ มมังการ และมานานุสัย

 
  ข้อความที่ 14  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 7 ก.ย. 2564

กุกกุฬวรรคที่ ๔

๑. กุกกุฬสูตร ว่าด้วยขันธ์ ๕ เป็นของร้อน

๒. อนิจจสูตรที่ ๑ ว่าด้วยละฉันทะในสิ่งที่เป็นอนิจจัง

๓. อนิจจสูตรที่ ๒ ว่าด้วยการละราคะในสิ่งที่เป็นอนิจจัง

๔. อนิจจสูตรที่ ๓ ว่าด้วยการละฉันทราคะในสิ่งที่เป็นอนิจจัง

๕. ทุกขสูตรที่ ๑ ว่าด้วยการละฉันทะในสิ่งที่เป็นทุกข์

๖. ทุกขสูตรที่ ๒ ว่าด้วยการละราคะในสิ่งที่เป็นทุกข์

๗. ทุกขสูตรที่ ๓ ว่าด้วยการละฉันทราคะในสิ่งที่เป็นทุกข์

๘. อนัตตสูตรที่ ๑ ว่าด้วยการละฉันทะในสิ่งที่เป็นอนัตตา

๙. อนัตตสูตรที่ ๒ ว่าด้วยการละราคะในสิ่งที่เป็นอนัตตา

๑๐. อนัตตสูตรที่ ๓ ว่าด้วยการละฉันทราคะในสิ่งที่เป็นอนัตตา

๑๑. กุลปุตตสูตรที่ ๑ ว่าด้วยธรรมอันสมควรแก่กุลบุตร

๑๒. กุลปุตตสูตรที่ ๒ ว่าด้วยธรรมอันสมควรแก่กุลบุตร

๑๓. กุลปุตตสูตรที่ ๓ ว่าด้วยธรรมอันสมควรแก่กุลบุตร

๑๔. กุลปุตตสูตรที่ ๔ ว่าด้วยธรรมอันสมควรแก่กุลบุตร

 
  ข้อความที่ 15  
  ข้อความที่ 16  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 7 ก.ย. 2564
 
  ข้อความที่ 20  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 8 ก.ย. 2564

๓. ทิฏฐิสังยุต

โสตาปัตติวรรคที่ ๑

๑. วาตสูตร ว่าด้วยเหตุเกิดมิจฉาทิฏฐิ

๒. เอตังมมสูตร ว่าด้วยเหตุแห่งการถือมั่นว่าของเรา

๓. โสอัตตสูตร

๔. โนจเมสิยาสูตร

๕. นัตถิทินนสูตร

๖. กโรโตสูตร

๗. เหตุสูตร

๘. มหาทิฏฐิสูตร ว่าด้วยมิจฉาทิฏฐิ

๙. สัสสตทิฏฐิสูตร ว่าด้วยความเห็นว่าโลกเที่ยง

๑๐. อสัสสตทิฏฐิสูตร ว่าด้วยความเห็นว่าโลกไม่เที่ยง

๑๑. อันตวาสูตร ว่าด้วยความเห็นว่าโลกมีที่สุด

๑๒. อนันตวาสูตร ว่าด้วยความเห็นว่า โลกไม่มีที่สุด

๑๓. ตังชีวังตังสรีรังสูตร ว่าด้วยความเห็นว่า ชีพกับสรีระเป็นอันเดียวกัน

๑๔. อัญญังชีวังอัญญังสรีรังสูตร ว่าด้วยความเห็นว่า ชีพกับสรีระเป็นคนละอย่าง

๑๕. โหติตถาคตสูตร ว่าด้วยความเห็นว่า สัตว์ตายแล้วเกิด

๑๖. นโหติตถาคตสูตร ว่าด้วยความเห็นว่าสัตว์ตายแล้วไม่เกิด

๑๗. โหติจนจโหติตถาคตสูตร ว่าด้วยความเห็นว่า สัตว์ตายแล้วเกิดบ้างไม่เกิดบ้าง

๑๘. เนวโหตินนโหติตถาคตสูตร ว่าด้วยความเห็นว่า สัตว์ตายแล้วเกิดและไม่เกิดก็หามิได้

 
  ข้อความที่ 21  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 8 ก.ย. 2564

ทิฏฐิสังยุต

ทุติยเปยยาลที่ ๒

๑. วาตสูตร

๑๘. เนวโหตินนโหติสูตร ว่าด้วยความเห็นว่า สัตว์ตายแล้วเกิดและไม่เกิดก็หามิได้

๑๙. รูปีอัตตสูตร ว่าด้วยอัตตาที่มีรูป

๒๐. อรูปีอัตตสูตร ว่าด้วยอัตตาไม่มีรูป

๒๑. รูปีจอรูปีจอัตตสูตร ว่าด้วยอัตตาทั้งที่มีรูป ทั้งที่ไม่มีรูป

๒๒. เนวรูปีนารูปีอัตตสูตร ว่าด้วยอัตตาที่มีรูปก็หามิได้ ไม่มีรูปก็หามิได้

๒๓. เอกันตสุขีสูตร ว่าด้วยอัตตาที่มีสุขโดยส่วนเดียว

๒๔. เอกันตทุกขีสูตร ว่าด้วยอัตตาที่มีทุกข์โดยส่วนเดียว

๒๕. เอกันตสุขทุกขีสูตร ว่าด้วยอัตตาที่มีทั้งสุขและทั้งทุกข์

๒๖. อทุกขมสุขีสูตร ว่าด้วยอัตตาที่ไม่มีทั้งทุกข์ทั้งสุข

 
  ข้อความที่ 24  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 8 ก.ย. 2564
 
  ข้อความที่ 25  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 8 ก.ย. 2564

๕. อุปปาทสังยุต

๑. จักขุสูตร ว่าด้วยความเกิดขึ้นตั้งอยู่และดับไปแห่งทุกข์

๒. รูปสูตร ว่าด้วยความเกิดขึ้นตั้งอยู่และดับไปแห่งทุกข์

๓. วิญญาณสูตร ว่าด้วยความเกิดขึ้นตั้งอยู่และดับไปแห่งทุกข์

๔. ผัสสสูตร ว่าด้วยความเกิดขึ้นตั้งอยู่และดับไปแห่งทุกข์

๕. เวทนาสูตร ว่าด้วยความเกิดขึ้นตั้งอยู่และดับไปแห่งทุกข์

๖. สัญญาสูตร ว่าด้วยความเกิดขึ้นตั้งอยู่และดับไปแห่งทุกข์

๗. เจตนาสูตร ว่าด้วยความเกิดขึ้นตั้งอยู่และดับไปแห่งทุกข์

๘. ตัณหาสูตร ว่าด้วยความเกิดขึ้นตั้งอยู่และดับไปแห่งทุกข์

๙. ธาตุสูตร ว่าด้วยความเกิดขึ้นตั้งอยู่และดับไปแห่งทุกข์

๑๐. ขันธสูตร ว่าด้วยความเกิดขึ้นตั้งอยู่และดับไปแห่งทุกข์