อุรคชาดก ว่าด้วยงูผู้มีคุณธรรมสูง

 
chatchai.k
วันที่  16 ต.ค. 2563
หมายเลข  33108
อ่าน  594

๔. อุรคชาดก

วาดวยงูผูมีคุณธรรมสูง

[๑๕๗] พระยานาคประเสริฐกวางูทั้งหลาย ตองการจะพนไปจากสํานักของขาพเจา แปลงเพศ เปนกอนแกวมณี เขาไปอยูภายในผาเปลือกไม นี้ ขาพเจาเคารพยําเกรงเพศของพระคุณเจา ซึ่ง เปนเพศประเสริฐนัก แมจะหิวก็ไมอาจจะจับนาค ซึ่งเขาไปอยูภายในผาเปลือกไมนั้นออกมา กินได

[๑๕๘] ทานนั้นเคารพยําเกรงผูมีเพศประเสริฐ แมจะหิวก็ไมอาจจะจับนาค ซึ่งเขาไปอยู่ภายใน ผาเปลือกไมนั้นออกมากินได ขอทานนั้นจงเปน ผูอันพรหมคุมครอง ดํารงชีพอยูสิ้นกาลนาน เถิด อนึ่ง ขอภักษาหารอันเปนทิพยจงปรากฏ แกทานเถิด.

จบ อุรคชาดกที่ ๔


  ความคิดเห็นที่ 1  
 
chatchai.k
วันที่ 16 ต.ค. 2563

อรรถกถาอุรคชาดกที่ ๔

พระศาสดาเมื่อประทับอยู ณ พระวิหารเชตวันทรง ปรารภการผูกเวรของคนมีเวร ตรัสพระธรรมเทศนานี้ มีคํา เริ่มตนวา อิธูรคาน ปวโร ปวิฏโ ดังนี้

ไดยินวา มหาอามาตยสองคนเปนหัวหนาทหาร เปนเสวกของพระเจาโกศล เห็นกันและกันเขาก็ทะเลาะกัน การจองเวรของเขาทั้งสองเปนที่รูกันทั่วนคร พระราชา ญาติ และ มิตรไมสามารถจะทําใหเขาทั้งสองสามัคคีกันได

อยูมาวันหนึ่ง ในเวลาใกลรุงพระศาสดาทรงตรวจดูเผาพันธุสัตวที่ควรแนะนําใหตรัสรู ทรงเห็นอุปนิสัยแหงโสดาปตติมรรคของเขาทั้งสอง วันรุงขึ้น เสด็จสูกรุงสาวัตถีเพื่อบิณฑบาต พระองคเดียวเทานั้น ประทับยืนที่ประตูเรือนของคนหนึ่ง. เขาออกมารับบาตรแลวนิมนตพระศาสดาใหเสด็จเขาไปภายในเรือน ปูอาสนะใหประทับนั่ง.

พระศาสดาประทับนั่งแลว ตรัสอานิสงส แหงการเจริญเมตตาแกเขา ทรงทราบวามีจิตออนแลว จึงทรง ประกาคอริยสัจ. เมื่อจบอริยสัจ เขาตั้งอยูในโสดาปตติผล. พระศาสดาทรงทราบวาเขาบรรลุโสดาแลว ใหเขาถือบาตรทรง พาไปประตูเรือนของอีกคนหนึ่ง. อํามาตยนั้นก็ออกมาถวาย บังคมพระศาสดากราบทูลวา ขอเชิญเสด็จเขาไปเถิดพระเจาขา แลวทูลเสด็จเขาไปยังเรือน อัญเชิญใหประทับนั่ง. อํามาตยที่ตามเสด็จ ก็ถือบาตรตามเสด็จพระศาสดาเขาไปพรอมกับพระศาสดา. พระศาสดาตรัสพรรณนาอานิสงสเมตตา ๑๑ ประการ ทรงทราบวาเขามีจิตสมควรแลว จึงทรงประกาศสัจธรรม. เมื่อจบแลว อํามาตยนั้น ก็ตั้งอยูในโสดาปตติผล.

อํามาตยทั้งสอง บรรลุโสดาบันแลว ก็แสดงโทษขอขมากันและกัน มีความสมัครสมานบันเทิงใจ มีอัธยาศัยรวมกันดวยประการฉะนี้. วันนั้นเองเขาทั้งสองบริโภครวมกัน เฉพาะพระพักตรของพระผูมีพระภาคเจา. พระศาสดาเสวยภัตตาหารเสร็จแลว ไดเสด็จกลับพระวิหาร. อํามาตยสองคนนั้นก็ถือดอกไมของหอม เครื่องลูบไล และ เนยใส น้ําผึ้ง น้ําออย เปนตน ออกไปพรอมกับพระศาสดา. เมื่อหมูภิกษุแสดงวัตรแลว พระศาสดาทรงประทานสุคโตวาท แลวเสด็จเขาพระคันธกุฏี

ในเวลาเย็นภิกษุทั้งหลาย ประชุมสนทนากันถึงกถาแสดง คุณของพระศาสดาในธรรมสภาวา ดูกอนอาวุโสทั้งหลาย พระศาสดาทรงฝกคนที่ฝกไมได พระตถาคตทรงฝกมหาอํามาตย ทั้งสองซึ่งวิวาทกันมาชานาน พระราชา และญาติมิตร เปนตน ก็ไมสามารถจะทําใหสามัคคีกันได เพียงวันเดียวเทานั้น. พระศาสดาเสด็จมาตรัสถามวา ดูกอนภิกษุทั้งหลาย บัดนี้พวกเธอ นั่งประชุมสนทนากันดวยเรื่องอะไร เมื่อภิกษุเหลานั้น กราบทูล ใหทรงทราบแลว จึงตรัสวา ดูกอนภิกษุทั้งหลาย เราได ทาใหชนทั้งสองเหลานี้สามัคคีกันมิใชบัดนี้เทานั้น แมเมื่อกอน เราก็ทําชนเหลานี้ใหสามัคคีกัน แลวทรงนําเรื่องในอดีตมา ตรัสวา

ในอดีตกาล ครั้งเมื่อพระเจาพรหมทัตเสวยราชสมบัติ ในกรุงพาราณสี เมื่อเขาประกาศมีมหรสพในกรุงพาราณสี ไดมีการประชุมใหญ. พวกมนุษยเปนอันมากและเทวดา นาค ครุฑ เปนตน ตางประชุมกันเพื่อชมมหรสพ. ในสถานที่แหงหนึ่ง ที่เมืองพาราณสีนั้น พญานาคจําพญาครุฑไมได จึงพาดมือ ลงไวเหนือจะงอยบาพญาครุฑ. พญาครุฑนึกในใจวา ใครเอามือ วางบนจะงอยบาของเรา เหลียวไปดู รูวาเปนพญานาค. พญานาค มองดูก็จําไดวาเปนพญาครุฑ จึงหวาดหวั่นตอมรณภัย ออกจากพระนคร หนีไปทางทาน้ํา. พญาครุฑก็ติดตามไปดวยคิดวา จักจับพญานาคนั้นใหได.

ในสมัยนั้น พระโพธิสัตวเปนดาบสอาศัยอยู ณ บรรณศาลา ใกลฝงแมน้ํานั้น เพื่อระงับความกระวนกระวายในตอนกลางวัน จึงนุงผาอุทกสาฎก (ผาอาบน้ํา) วางผาเปลือกไมไวที่นอกฝง แลวลงอาบน้ํา. พญานาคคิดวา เราจักไดชีวิตเพราะอาศัยบรรพชิต นี้ จึงแปลงเพศเดิม เนรมิตเพศเปนกอนมณีเขาไปอาศัยอยูใน ผาเปลือกไม. พญาครุฑติดตามไปเห็นพญานาคนั้นเขาไปอาศัย อยูในผาเปลือกไมนั้น ก็ไมจับตองผาเปลือกไม เพราะความ เคารพ จึงปราศรัยกะพระโพธิสัตววา ทานขอรับขาพเจาหิวทาน จงเอาผาเปลือกไมของทานไป ขาพเจาจักกินพญานาคนี้ เพื่อประกาศความนี้ จึงกลาวคาถาแรกวา :

พญานาคผูประเสริฐกวางูทั้งหลาย ตองการจะพนไปจากสํานักของขาพเจา จึงแปลงเพศ เปนกอนแกวมณี เขาไปอยูในผาเปลือกไม นี้ ขาพเจาเคารพยําเกรงเพศของพระคุณเจา ซึ่ง เปนเพศประเสริฐนัก แมจะหิวก็ไมอาจจะจับพญานาค ซึ่งเขาไปอยูในผาเปลือกไมนั้นออก มากินได.

ในบทเหลานั้น บทวา อิธูรคาน ปวโร ปวิฏโ ความวา พญานาคผูประเสริฐกวางูทั้งหลาย เขาไปอาศัยอยูในผาเปลือกไม นี้.

บทวา เสลสฺส วณฺเณน ความวา พญานาคแปลงเพศเปน กอนแกวมณี เขาไปอาศัยอยูในผาเปลือกไม.

บทวา ปโมกฺขมิจฺฉ ความวา พญานาคตองการจะพนจากสํานักของขาพเจา.

บทวา พฺรหฺมฺจ วณฺณ อปจายมาโน ความวา ขาพเจาบูชาเคารพ ตอทานผูมีเพศดังพรหม คือมีเพศประเสริฐ.

บทวา พุภุกฺขิโต โน อิสฺหามิ โภตฺตุ ความวา ขาพเจาแมจะหิวก็ไมอาจจะกิน พญานาคนั้นซึ่งเขาไปอาศัยอยูในเปลือกไมนั้นได. พระโพธิสัตวทั้งๆ ที่ยืนอยูในน้ําไดสรรเสริญพญาครุฑ แลวกลาวคาถาที่สองวา :- ทานเคารพยําเกรงผูมีเพศอันประเสริฐ แมจะหิวก็ไมอาจจะจับนาค ซึ่งเขาไปอยูในผา เปลือกไมนั้นออกมากินได ขอทานจงเปนผูอัน พรหมคุมครองแลว ดํารงชีวิตอยูสิ้นกาลนาน เถิด อนึ่ง ขอภักษาหารอันเปนทิพยจงปรากฏ แกทานเถิด.

ในบทเหลานั้น บทวา โส พฺรหฺมคุตฺโต ความวา ทานนั้น เปนผูอันพรหมคุมครองรักษาแลว.

บทวา ทิพฺยา จ เต ปาตุภวนฺตุ ภกฺขา ความวา ขอภักษาหารอันควรแกการบริโภคของทวยเทพ จงปรากฏแกทานเถิด. ทานอยาไดทําปาณาติบาต กินเนื้อนาคเลย. พระโพธิสัตวทั้งๆ ที่ยืนอยูในน้ํา กระทําอนุโมทนาแลว ขึ้นนุงผาเปลือกไม พาสัตวทั้งสองไปอาศรม บทแสดงถึงคุณ ของการเจริญเมตตา แลวไดกระทําใหสัตวทั้งสองนั้นสามัคคีกัน. ตั้งแตนั้นมา สัตวทั้งสองนั้นก็มีความสมัครสมาน เบิกบานกัน อยูรวมกันดวยความสุข

พระศาสดาทรงนําพระธรรมเทศนานี้มาแลวประชุม ชาดก. พญานาคและพญาครุฑในครั้งนั้น ไดเปนอํามาตยผูใหญ ทั้งสองในบัดนี้. สวนดาบสไดเปนเราตถาคตนี้แล.

จบ อรรถกถาอุรคชาดกที่ ๔

 
  ความคิดเห็นที่ 2  
 
สิริพรรณ
วันที่ 17 ต.ค. 2563

กราบนอบน้อมพระรัตนตรัยด้วยเศียรเกล้า

ท่านอาจารย์สุจินต์แสดง ความละเอียดของสภาพธรรมที่พระพุทธองค์ทรงตรัสรู้ ถ้าไม่ศึกษาพระธรรม ก็ไม่ทราบความละเอียดของสภาพธรรมแต่ละหนึ่งได้เลย เช่น ความเมตตา ก็ไม่ใช่ความรักใคร่ติดข้อง ทำให้ได้หวลมาพิจารณาความรู้สึกของตนเองในฐานะที่เป็นมารดา หรือ ในฐานะอื่นๆ ที่มีกับบุคคลในครอบครัวเดียวกัน เป็นความเมตตาหรือโลภะ เพราะ แท้จริงความเมตตาคือความปรารถนาดี หวังดี เป็นเพื่อน ไม่เฉพาะกับบุคคลที่รักใคร่ พวกพ้อง แต่ต้องไม่เว้น แม้กระทั่งผู้ที่เป็นศัตรู จึงเป็นความเมตตา

ประโยชน์ของการศึกษาพระธรรม ทำให้ได้รู้ความจริง ความตรงของสภาพธรรม ที่ไม่มีผู้ใดจะเปลี่ยนแปลงได้ และไม่ทำให้เข้าใจผิดว่าอกุศลเป็นกุศล

และถ้าขณะใดโกรธ ขัดเคือง บุตรหลาน ญาติพวกพ้อง ที่รักใคร่ ขณะนั้น ไม่ใช่เมตตา

กราบเท้าบูชาพระคุณท่านอาจารย์สุจินต์ บริหารวนเขตต์ ด้วยความเคารพอย่างสูงยิ่ง

ขอบพระคุณ ยินดีในกุศลธรรมทานด้วยค่ะ

ศึกษาเพิ่มเติมได้ที่

เมตตา

ไม่คิดร้ายแม้ผู้เป็นข้าศึก

ระลึกถึงความตายเพื่อละความโกรธ

 
  ความคิดเห็นที่ 3  
 
chatchai.k
วันที่ 18 ต.ค. 2563

ขออนุโมทนาครับ

 
เขียนความคิดเห็น กรุณาเข้าระบบ