พระไตรปิฎกและอรรถกถาแปล ฉบับมหามกุฏราชวิทยาลัย

[เล่มที่ 31] พระสุตตันตปิฎก สังยุตตนิกาย มหาวารวรรค เล่มที่ ๕ ภาคที่ ๒

 
บ้านธัมมะ
วันที่  29 ส.ค. 2564
หมายเลข  36305
อ่าน  963

[เล่มที่ 31] พระสุตตันตปิฎก สังยุตตนิกาย มหาวารวรรค เล่มที่ ๕ ภาคที่ ๒

ขอนอบน้อมแด่พระผู้มีพระภาคอรหันตสัมมาสัมพุทธเจ้าพระองค์นั้น


  ข้อความที่ 1  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 11 ต.ค. 2564

อินทริยสังยุต

สุทธิกวรรคที่ ๑

๑. สุทธิกสูตร ว่าด้วยอินทรีย์ ๕

๒. ปฐมโสตาสูตร รู้คุณโทษของอินทรีย์ ๕ เป็นพระโสดาบัน

๓. ทุติยโสตาสูตร รู้ความเกิดดับของอินทรย์ ๕ เป็นพระโสดาบัน

๔. ปฐมอรหันตสูตร รู้ความเกิดดับของอินทรีย์ ๕ เป็นพระอรหันต์

๕. ทุติยอรหันตสูตร รู้ความเกิดดับของอินทรีย์ ๕ เป็นพระอรหันต์

๖. ปฐมสมณพราหมณสูตร ผู้ไม่รู้ความเกิดดับของอินทรีย์ ๕ ไม่นับว่าสมณะหรือพราหมณ์

๗. ทุติยสมณพราหมณสูตร ผู้รู้ชัดถึงความเกิดของอินทรีย์ ๕ นับว่าเป็นสมณพราหมณ์

๘. ทัฏฐัพพสูตร ว่าด้วยการเห็นอินทรีย์ ๕ ในธรรมต่างๆ

๙. ปฐมวิภังคสูตร ว่าด้วยความหมายของอินทรีย์ ๕

๑๐. ทุติยวิภังคสูตร ว่าด้วยหน้าที่ของอินทรีย์ ๕

 
  ข้อความที่ 4  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 11 ต.ค. 2564

สุขินทริยวรรคที่ ๔

๑. สุทธกสูตร ว่าด้วยอินทรีย์ ๕

๒. โสตาปันนสูตร รู้การเกิดดับแห่งอินทรีย์ ๕ เป็นโสดาบัน

๓. อรหันตสูตร รู้ความเกิดดับแห่งอินทรีย์ ๕ เป็นพระอรหันต์

๔. ปฐมสมณพราหมณสูตร รู้ความเกิดดับแห่งอินทรีย์ ๕ นับว่าเป็นสมณพราหมณ์

๕. ทุติยสมณพราหมณสูตร รู้ความเกิดดับแห่งอินทรีย์ ๕ เป็นสมณพราหมณ์

๖. ปฐมวิภังคสูตร ว่าด้วยการจําแนกอินทรีย์ ๕

๗. ทุติยวิภังคสูตร ว่าด้วยอินทรีย์ ๕ เป็นสุขทุกข์และอทุกขมสุข

๘. ตติยวิภังคสูตร ว่าด้วยอินทรีย์ ๕ ย่นเข้าเป็น ๓

๙. อรหันตสูตร อินทรีย์ ๕ อาศัยผัสสะเกิดเวทนา

๑๐. อุปปฏิกสูตร อินทรีย์ ๕ มีนิมิต มีเหตุ มีเครื่องปรุงแต่ง มีปัจจัย

 
  ข้อความที่ 7  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 11 ต.ค. 2564
 
  ข้อความที่ 8  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 11 ต.ค. 2564

อินทริยสังยุต คังคาทิเปยยาลที่ ๘

อานิสงส์แห่งการเจริญอินทรีย ์๕

สัมมัปปธานสังยุต

สัมมัปปธานสังยุต ว่าด้วยสัมมัปปธาน ๔

พลสังยุต

พลสังยุต ว่าด้วยพละ ๕

 
  ข้อความที่ 9  
  ข้อความที่ 12  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 12 ต.ค. 2564
 
  ข้อความที่ 14  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 12 ต.ค. 2564

อนุรุทธสังยุต

ทุติยวรรคที่ ๒

๑. สหัสสสูตร การบรรลุภาวะแห่งมหาอภิญญา

๒. อิทธิสูตร เจริญสติปัฏฐานแสดงฤทธิ์ได้

๓. ทิพโสตสูตร ว่าด้วยเสียง ๒ ชนิด

๔. เจโตปริจจสูตร ว่าด้วยการกําหนดรู้ใจผู้อื่น

๕. ฐานาฐานสูตร ว่าด้วยการรู้ฐานะและอฐานะ

๖. วิปากสูตร ว่าด้วยการรู้วิบากของกรรม

๗. สัพพัตถคามินีปฏิปทาสูตร ปฏิปทาอันให้ถึงประโยชน์ทั้งปวง

๘. นานาธาตุสูตร ว่าด้วยการรู้ธาตุต่างๆ

๙. อธิมุตติสูตร ว่าด้วยการรู้อธิมุตติต่างๆ

๑๐. อินทริยสูตร ว่าด้วยการรู้ความยิ่งหย่อนแห่งอินทรีย์

๑๑. สังกิเลสสูตร ว่าด้วยรู้ความเศร้าหมองความผ่องแผ้ว

๑๒. ปฐมวิชชาสูตร ว่าด้วยการระลึกชาติได้

๑๓. ทุติยวิชชาสูตร ว่าด้วยการเห็นจุติและอุบัติ

๑๔. ตติยวิชชาสูตร ว่าด้วยการทําอาสวะให้สิ้นไป

 
  ข้อความที่ 15  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 13 ต.ค. 2564

ฌานสังยุต

ว่าด้วยฌาน ๔

ฌานสังยุต ว่าด้วยฌาน ๔

 
  ข้อความที่ 17  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 13 ต.ค. 2564
 
  ข้อความที่ 18  
  ข้อความที่ 20  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 13 ต.ค. 2564
 
  ข้อความที่ 22  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 13 ต.ค. 2564
 
  ข้อความที่ 23  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 13 ต.ค. 2564

โสตาปัตติสังยุต

สัปปัญญวรรคที่ ๖

๑. สคาถกสูตร ผู้ประกอบด้วยธรรม ๔ ประการเป็นพระโสดาบัน

๒. วัสสวุตถสูตร ว่าด้วยพระอริยบุคคลมีน้อยกว่ากันโดยลําดับ

๓. ธรรมทินนสูตร ธรรมทินนะอุบาสกพยากรณ์โสดาปัตติผล

๔. คิลายนสูตร ธรรมเป็นที่ตั้งแห่งความเบาใจ ๔ ประการ

๕. ปฐมผลสูตร เจริญธรรม ๔ ประการเพื่อทําให้แจ้งโสดาปัตติผล

๖. ทุติยผลสูตร เจริญธรรม ๔ ประการเพื่อทําให้แจ้งสกทาคามิผล

๗. ตติยผลสูตร เจริญธรรม ๔ ประการเพื่อทําให้แจ้งอนาคามิผล

๘. จตุตถผลสูตร เจริญธรรม ๔ ประการเพื่อทําให้แจ้งอรหัตผล

๙. ปฏิลาภสูตร เจริญธรรม ๔ ประการเพื่อได้ปัญญา

๑๐. วุฒิสูตร เจริญธรรม ๔ ประการเพื่อปัญญาเจริญ

๑๑. เวปุลลสูตร เจริญธรรม ๔ ประการเพื่อปัญญาไพบูลย์

 
  ข้อความที่ 24  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 13 ต.ค. 2564

โสตาปัตติสังยุต

มหาปัญญวรรคที่ ๗

๑. มหาปัญญสูตร เจริญธรรม ๔ ประการเพื่อมีปัญญามาก

๒. ปุถุปัญญสูตร เจริญธรรม ๔ ประการเพื่อมีปัญญาแน่นหนา

๓. วิปุลลปัญญสูตร เจริญธรรม ๔ ประการเพื่อมีปัญญาไพบูลย์

๔. คัมภีรปัญญสูตร เจริญธรรม ๔ ประการเพื่อมีปัญญาลึกซึ้ง

๕. อัปปมัตตปัญญสูตร เจริญธรรม ๔ ประการเพื่อมีปัญญาหาประมาณมิได้

๖. ภูริปัญญสูตร เจริญธรรม ๔ ประการเพื่อมีปัญญาดังแผ่นดิน

๗. พาหุลปัญญสูตร เจริญธรรม ๔ ประการเพื่อมีปัญญามาก

๘. สีฆปัญญสูตร เจริญธรรม ๔ ประการเพื่อมีปัญญาเร็ว

๙. ลหุปัญญสูตร เจริญธรรม ๔ ประการเพื่อมีปัญญาเบา

๑๐. หาสปัญญสูตร เจริญธรรม ๔ ประการเพื่อมีปัญญาร่าเริง

๑๑. ชวนปัญญสูตร เจริญธรรม ๔ ประการเพื่อมีปัญญาไว

๑๒. ติกขปัญญสูตร เจริญธรรม ๔ ประการเพื่อมีปัญญากล้า

๑๓. นิพเพธิกปัญญสูตร เจริญธรรม ๔ ประการเพื่อมีปัญญาชําแรกกิเลส

 
  ข้อความที่ 25  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 13 ต.ค. 2564
 
  ข้อความที่ 27  
  ข้อความที่ 28  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 14 ต.ค. 2564

สัจจสังยุต

สีสปาปัณณวรรคที่ ๔

๑. สีสปาสูตร เปรียบสิ่งที่ตรัสรู้มีมากเหมือนใบไม้บนต้น

๒. ขทิรสูตร ว่าด้วยการทําที่สุดแห่งทุกข์เพราะตรัสรู้อริยสัจ ๔

๓. ทัณฑสูตร ผู้ท่องเที่ยวไปในโลกเพราะไม่เห็นอริยสัจ

๔. เจลสูตร ให้รีบเพียรเพื่อตรัสรู้ เหมือนรีบดับไฟบนศีรษะ

๕. สัตติสตสูตร ว่าด้วยการตรัสรู้อริยสัจ ๔

๖. ปาณสูตร ผู้ถึงพร้อมด้วยทิฏฐิพ้นจากอบายใหญ่

๗. ปฐมสุริยูปมสูตร ว่าด้วยสิ่งที่เป็นนิมิตมาก่อนการตรัสรู้อริยสัจ

๘. ทุติยสุริยูปมสูตร พระตถาคตอุบัติความสว่างย่อมปรากฏ

๙. อินทขีลสูตร ผู้รู้ตามเป็นจริง ย่อมรู้ผู้อื่นว่ารู้หรือไม่รู้

๑๐. วาทีสูตร ผู้รู้ชัดตามเป็นจริง ไม่หวั่นไหวต่อผู้ยกวาทะ

 
  ข้อความที่ 29  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 14 ต.ค. 2564
 
  ข้อความที่ 30  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 15 ต.ค. 2564

สัจจสังยุต

อภิสมยวรรคที่ ๖

๑. นขสิขาสูตร ว่าด้วยทุกข์ของพระอริยะเท่ากับฝุ่นที่ปลายเล็บ

๒. โปกขรณีสูตร ว่าด้วยทุกข์ของพระอริยะเท่ากับน้ําปลายหญ้าคา

๓. ปฐมสัมเภชชสูตร เปรียบทุกข์ที่ยังเหลือเท่ากับหยดน้ํา

๔. ทุติยสัมเภชชสูตร เปรียบทุกข์ที่หมดไปเท่ากับน้ําในแม่น้ํา

๕. ปฐมปฐวีสูตร เปรียบทุกข์ที่ยังเหลือเท่ากับก้อนดิน

๖. ทุติยปฐวีสูตร เปรียบทุกข์ที่หมดไปเท่ากับแผ่นดิน

๗. ปฐมสมุททสูตร เปรียบทุกข์ที่เหลือเท่ากับหยดน้ํา

๘. ทุติยสมุททสูตร เปรียบทุกข์ที่หมดไปเท่ากับมหาสมุทร

๙. ปฐมปัพพตูปมสูตร เปรียบทุกข์ที่เหลือเท่ากับก้อนหิน

๑๐. ทุติยปัพพตูปมสูตร เปรียบทุกข์ที่หมดไปเท่ากับขุนเขา

 
  ข้อความที่ 31  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 15 ต.ค. 2564

สัจจสังยุต

อามกธัญญเปยยาล ปฐมวรรคที่ ๗

๑. อัญญตรสูตร ว่าด้วยสัตว์ผู้มาเกิดในมนุษย์มีน้อย

๒. ปัจจันตสูตร ว่าด้วยสัตว์ผู้มาเกิดในปัจจันตชนบทมาก

๓. ปัญญาสูตร ว่าด้วยสัตว์ผู้มีปัญญาจักษุน้อย

๔. สุราเมรัยสูตร ว่าด้วยสัตว์ผู้งดเว้นการดื่มน้ําเมามีน้อย

๕. อุทกสูตร ว่าด้วยสัตว์ที่เกิดในน้ํามีมาก

๖. มัตเตยยสูตร ว่าด้วยสัตว์ผู้เกื้อกูลมารดามีน้อย

๗. เปตเตยยสูตร ว่าด้วยสัตว์ผู้เกื้อกูลบิดามีน้อย

๘. สามัญญสูตร ว่าด้วยสัตว์ผู้เกื้อกูลสมณะมีน้อย

๙. พราหมัญญสูตร ว่าด้วยสัตว์ผู้เกื้อกูลพราหมณ์มีน้อย

๑๐. อปจายิกสูตร ว่าด้วยสัตว์ผู้นอบน้อมต่อผู้เจริญมีน้อย

 
  ข้อความที่ 32  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 15 ต.ค. 2564

สัจจสังยุต

อามกธัญญเปยยาล ทุติยวรรคที่ ๘

๑. ปาณาติปาตสูตร ว่าด้วยสัตว์ผู้เว้นปาณาติบาตมีน้อย

๒. อทินนาทานสูตร ว่าด้วยสัตว์ผู้เว้นอทินนาทานมีน้อย

๓. กาเมสุมิจฉาจารสูตร ว่าด้วยสัตว์ผู้เว้นกาเมสุมิจฉาจารมีน้อย

๔. มุสาวาทสูตร ว่าด้วยสัตว์ผู้เว้นจากมุสาวาทมีน้อย

๕. เปสุญญสูตร ว่าด้วยสัตว์ผู้เว้นคําส่อเสียดมีน้อย

๖. ผรุสสูตร ว่าด้วยสัตว์ผู้เว้นจากคําหยาบมีน้อย

๗. สัมผัปปลาปสูตร ว่าด้วยสัตว์ผู้เว้นการเพ้อเจ้อมีน้อย

๘. พีชสูตร ว่าด้วยสัตว์ผู้เว้นการพรากพืชคามมีน้อย

๙. วิกาลโภชนสูตร ว่าด้วยสัตว์ผู้เว้นบริโภคในเวลาวิกาลมีน้อย

๑๐. คันธวิเลปนสูตร ว่าด้วยสัตว์ผู้เว้นเครื่องลูบไล้มีน้อย

 
  ข้อความที่ 33  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 15 ต.ค. 2564

สัจจสังยุต

อามกธัญญเปยยาล ตติยวรรคที่ ๙

๑. นัจจสูตร ว่าด้วยสัตว์ผู้เว้นจากการฟ้อนรํามีน้อย

๒. สยนสูตร ว่าด้วยสัตว์ผู้เว้นการนั่งนอนในที่นั่งนอนสูงใหญ่มีน้อย

๓. รชตสูตร ว่าด้วยสัตว์ผู้เว้นการรับเงินทองมีน้อย

๔. ธัญญสูตร ว่าด้วยสัตว์ผู้เว้นจากการรับธัญญชาติดิบมีน้อย

๕. มังสสูตร ว่าด้วยสัตว์ผู้เว้นการรับเนื้อดิบมีน้อย

๖. กุมาริกาสูตร ว่าด้วยสัตว์ผู้เว้นการรับเด็กหญิงมีน้อย

๗. ทาสีสูตร ว่าด้วยสัตว์ผู้เว้นการรับทาสีและทาสมีน้อย

๘. อเชฬกสูตร ว่าด้วยสัตว์ผู้เว้นการรับแพะแกะมีน้อย

๙. กุกกุฏสูตร ว่าด้วยสัตว์ผู้เว้นการรับไก่และสุกรมีน้อย

๑๐. หัตถีสูตร ว่าด้วยสัตว์ผู้เว้นการรับช้างมีน้อย

 
  ข้อความที่ 34  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 15 ต.ค. 2564

อามกธัญญเปยยาล จตุตถวรรคที่ ๑๐

ว่าด้วยสัตว์ผู้มีการกระทําต่างๆ กัน

อามกธัญญเปยยาล จตุตถวรรคที่ ๑๐ ว่าด้วยสัตว์ผู้มีการกระทําต่างๆ กัน

 
  ข้อความที่ 35  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 15 ต.ค. 2564

อามกธัญญเปยยาลวรรควรรณนา

อามกธัญญเปยยาลวรรควรรณนา

 
  ข้อความที่ 36  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 15 ต.ค. 2564

นิคมกถา

อรรถกถา ชื่อว่า สารัตถปกาสินี

นิคมกถา สารัตถปกาสินี