ธรรมปาลเถรคาถา และ อรรถกถา

 
chatchai.k
วันที่  20 ก.พ. 2564
หมายเลข  33760
อ่าน  431

[เล่มที่ 51] พระสุตตันตปิฎก ขุททกนิกาย เถรคาถา เล่ม ๒ ภาค ๓ ตอน ๒ - หนาที่ 197

๒. ธรรมปาลเถรคาถา

วาดวยคาถาของพระธรรมปาลเถระ

[๒๙๙] ไดยินวา พระธรรมปาลเถระไดภาษิตคาถานี้ไว อยางนี้วา ภิกษุหนุมรูปใดแลเพียรพยายามอยูในพระพุทธศาสนา ก็เมื่อสัตวทั้งหลายนอกนี้ พากันหลับแลว ภิกษุหนุมนั้นตื่นอยู ชีวิตของเธอไมไรประโยชน เพราะฉะนั้น บุคคลผูมีปญญา ระลึกถึงคําสอนของพระพุทธเจาทั้งหลาย พึงประกอบศรัทธา ศีล ความเลื่อมใส และการเห็นธรรมเนืองๆ เถิด


  ความคิดเห็นที่ 1  
 
chatchai.k
วันที่ 20 ก.พ. 2564

[เล่มที่ 51] พระสุตตันตปิฎก ขุททกนิกาย เถรคาถา เล่ม ๒ ภาค ๓ ตอน ๒ - หนาที่ 198

อรรถกถาธรรมปาลเถรคาถา

คาถาของทานพระธรรมปาลเถระเริ่มตนวา โย หเว ทหโร ภิกฺขุ เรื่องราวของทานเปนอยางไร

แมพระเถระนี้ ก็เปนผูมีอธิการอันกระทําไวแลวในพระพุทธเจาองคกอนๆ สั่งสมบุญไวในภพนั้นๆ บังเกิดในเรือนแหงตระกูลในกาลของพระผูมี พระภาคเจา พระนามวา อัตถทัสสี บรรลุนิติภาวะแลว เขาไปสูปาลึก ดวยกรณียกิจบางอยาง เห็นพระศาสดาแลว มีใจเลื่อมใส ไดถวายผลไม ปลักขะ (ผลดีปลี)

ดวยบุญกรรมนั้น เขาทองเที่ยวไปในเทวดาและมนุษยทั้งหลาย เมื่อ พระศาสดาในพุทธุปบาทกาลนี้ เสด็จปรินิพพานแลว บังเกิดในตระกูลพราหมณ แควนอวันตี ไดนามวา ธรรมปาละ เจริญวัยแลว ไปสูเมืองตักกศิลา เรียน ศิลปศาสตรแลว เมื่อเวลากลับพบพระเถระรูปหนึ่งในวิหารแหงหนึ่ง ฟงธรรม ในสํานักของพระเถระแลว ไดมีจิตศรัทธาบวชแลว เจริญวิปสสนาไดเปนผูมี อภิญญา ๖. สมดังคาถาประพันธที่ทานกลาวไวในอปทานวา เราไดเห็นพระพุทธเจา พระนามวา อัตถทัสสีมียศใหญ ในระหวางปา เรามีจิตเลื่อมใส มีใจโสมนัส ไดถวายผลปลักขะ (ผลดีปลี) ในกัปที่ ๑,๘๐๐ แต ภัทรกัปนี้เราไดถวายผลไมใดในกาลนั้น ดวยทานนั้น เราไมรูจักทุคติเลย นี้เปนผลแหงการถวายผลไม. เรา เผากิเลสทั้งหลายแลว ฯลฯ คําสอนของพระพุทธเจา เรากระทําสําเร็จแลวดังนี้

ก็พระเถระเปนผูมีอภิญญา ๖ แลว ยังเวลาใหลวงไปดวยความสุข อันเกิดแตสมาบัติ วันหนึ่ง เห็นสามเณร ๒ รูปในวิหารนั้น ขึ้นเก็บดอกไม อยูบนยอดไม เมื่อกิ่งที่ยืนงอกออกไปหักแลวก็ตกลงมา จึงยื่นมือออกไปรับ ดวยอานุภาพแหงฤทธิ์ ใหสามเณรทั้งสอง ยืนอยูบนพื้นดินไดโดยปลอดภัย เมื่อจะแสดงธรรมแกสามเณรเหลานั้น ไดกลาวคาถา ๒ คาถานี้ ความวา ภิกษุหนุมรูปใดแลเพียรพยายามอยูในพระพุทธศาสนา ก็เมื่อสัตวทั้งหลายนอกนี้พากันหลับแลว ภิกษุหนุมนั้นตื่นอยู ชีวิตของเธอไมไรประโยชนเพราะฉะนั้น บุคคลผูมีปญญา ระลึกถึงคําสอนของพระพุทธเจาทั้งหลาย พึงประกอบศรัทธา ศีล ความ เลื่อมใส และการเห็นธรรมเนืองๆ เถิด ดังนี้

 
  ความคิดเห็นที่ 2  
 
chatchai.k
วันที่ 20 ก.พ. 2564

บรรดาบทเหลานั้น บทวา โย เปนคําแสดงความไมแนนอน.

บทวา หเว เปนนิบาต ลงในอรรถวามั่นคง.

บทวา ทหโร แปลวา หนุม. ชื่อวา ภิกษุเพราะอรรถวายอมขอ.

บทวา ยุฺชติ ความวา ยอมพากเพียรพยายาม.

บทวา ชาคโร ไดแก ประกอบไปดวยธรรมของภิกษุผูตื่น.

บทวา สุตฺเตสุ ความวา เมื่อสัตวทั้งหลายนอนหลับอยู. ทานกลาว อธิบายไววา ภิกษุใดยังหนุมอยู คืออายุยังนอย ไมคิดวา เราจักบําเพ็ญสมณธรรมอยางนั้น ในภายหลัง เพียรพยายามปฏิบัติ ดวยความไมประมาท กระทําความเพียรในสมถภาวนาและวิปสสนาภาวนา ในศาสนาของพระพุทธเจาทั้งหลายเมื่อสัตวทั้งหลายนอกนี้หลับแลว คือหลับดวยความหลับคืออวิชชา ไดแก ประมาทแลว ภิกษุนั้นตื่นอยู ดวยการประกอบธรรมของผูตื่นอยู มีศรัทธาเปนตน ชีวิตของเธอไมไรประโยชนคือไมเปนหมัน เพราะบริบูรณ ดวยประโยชนตนและประโยชนทานนั้นแล ก็เพราะเหตุที่ชีวิตนี้ เปนอยางนี้ ฉะนั้น บุคคลผูมีปญญา คือภิกษุผูประกอบดวยปญญามีโอชาอันเกิดแตธรรม ระลึกถึงคําสอน คือพระโอวาท ไดแกพระอนุสาสนีของพระพุทธเจาทั้งหลาย มองเห็นศีรษะของตนวา อันไฟติดทั่วแลว พึงประกอบตาม ซึ่งศรัทธา และ ความเชื่อ เชื่อกรรมและผลแหงกรรม อันเปนไปแลวโดยนัยมีอาทิวา กรรม มีอยู ผลแหงกรรมมีอยู ดังนี้ ซึ่งจตุปาริสุทธิศีลอันเขาไปอาศัยซึ่งศรัทธานั้น

เพราะความที่แหงศีลเขาไปผูกพันกับศรัทธา และซึ่งความเลื่อมใสในพระรัตนตรัย อันเปนไปแลวอยางนี้วา พระผูมีพระภาคเจา เปนผูตรัสรูเองโดยชอบ พระธรรมอันพระผูมีพระภาคเจาตรัสดีแลว พระสงฆปฏิบัติดี ปฏิบัติชอบ ดังนี้ และซึ่งการเห็นจตุราริยสัจจธรรม ดวยสามารถแหงการกําหนดรูดวยมรรค ปญญา อันประกอบดวยวิปสสนาปญญาเปนตน อธิบายวา พึงกระทําความ ขวนขวาย คือความเพียรในธรรมมีศรัทธาเปนตนนั้น

จบ อรรถกถาธรรมปาลเถรคาถา

 
  ความคิดเห็นที่ 3  
 
chatchai.k
วันที่ 20 ก.พ. 2564

ขอนอบน้อมแด่พระผู้มีพระภาคอรหันตสัมมาสัมพุทธเจ้าพระองค์นั้น

 
เขียนความคิดเห็น กรุณาเข้าระบบ