๗. ทสรถชาดก ว่าด้วยผู้มีปัญญาย่อมไม่เศร้าโศกถึงสิ่งที่เสียไปแล้ว

 
chatchai.k
วันที่  21 พ.ค. 2564
หมายเลข  34252
อ่าน  596

[เล่มที่ 60] พระสุตตันตปิฎก ขุททกนิกาย ชาดก เล่ม ๓ ภาค ๖ - หนาที่ 72 - 73

๗. ทสรถชาดก

วาดวยผูมีปญญายอมไมเศราโศกถึงสิ่งที่เสียไปแลว

[๑๕๖๔] มานี่แนะ เจาลักขณและนางสีดา ทั้งสองจงมาลงน้ํา พระภรตนี้กลาวอยางนี้วาพระเจาทสรถสวรรคตเสียแลว

[๑๕๖๕] พี่ราม ดวยอานุภาพอะไร เจาพี่ไมเศราโศกถึงสิ่งที่ควรเศราโศก ความทุกขมิไดครอบงําพี่ เพราะไดทรงสดับวาพระราชบิดาสวรรคตเลา

[๑๕๖๖] คนเราไมสามารถจะรักษาชีวิต ที่คน เปนอันมากพร่ําเพอถึง นักปราชญผูรูแจงจะทําตนให เดือดรอนเพื่ออะไรกัน

[๑๕๖๗] ทั้งเด็กทั้งผูใหญ ทั้งพาลทั้งบัณฑิต ทั้งคนมั่งมี ทั้งคนยากจน ลวนบายหนาไปหามฤตยูทั้ง นั้น

[๑๕๖๘] ผลไมที่สุกแลว ก็พลันแตจะหลนลง เปนแนฉันใด สัตวทั้งหลายเกิดมาแลว ก็พลันแตจะตายเปนแน ฉันนั้น

[๑๕๖๙] เวลาเชาเห็นกันอยูมากคน พอถึงเวลาเย็น บางคนไมเห็นกัน เวลาเย็นเห็นกันอยูมากคน พอถึงเวลาเชาบางคนไมเห็นกัน

[๑๕๗๐] ถาผูที่คร่ําครวญหลงเบียดเบียนตนอยู จะพึงไดรับประโยชนสักเล็กนอยไซร บัณฑิตผูมีปรีชา ก็จะพึงทําเชนนั้นบาง

[๑๕๗๑] ผูเบียดเบียนตนเองตนอยู ยอมซูบผอม ปราศจากผิวพรรณ สัตวผูละไปแลวไมไดชวยคุมครองรักษา ดวยการร่ําไหนั้นเลย การร่ําไหไร ประโยชน

[๑๕๗๒] คนฉลาดพึงดับไฟที่ไหมเรือนดวยน้ํา ฉันใด คนผูเปนนักปราชญไดรับการศึกษามาดี มีปญญาเฉลียวฉลาด พึงรีบกําจัดความโศกที่เกิดขึ้นโดยฉับพลัน เหมือนลมพัดปุยนุนฉันนั้น

[๑๕๗๓] คนๆ เดียวนั้น ตายไปคนเดียวเทานั้น เกิดในตระกูล สวนการคบหากันของสรรพสัตวมีความเกี่ยวของกันเปนอยางยิ่ง

[๑๕๗๔] เพราะเหตุนั้นแล ความเศราโศก แมจะมากมาย ก็ไมทําจิตใจของนักปราชญ ผูเปนพหูสูต มองเห็นโลกนี้และโลกหนา รูทั่วถึงธรรมใหเรารอนได

[๑๕๗๕] เราจักใหยศ และโภคสมบัติแกผูที่ควรจะได จักทะนุบํารุงภรรยา ญาติทั้งหลาย และคนที่เหลือนี้ เปนกิจของบัณฑิตผูปรีชา

[๑๕๗๖] พระเจารามผูมีพระศอดุจกลองทอง มีพระพาหาใหญ ทรงครอบครองราชสมบัติอยูตลอด ๑๖,๐๐๐ ป

จบทสรถชาดกที่ ๗


  ความคิดเห็นที่ 1  
 
chatchai.k
วันที่ 21 พ.ค. 2564

[เล่มที่ 60] พระสุตตันตปิฎก ขุททกนิกาย ชาดก เล่ม ๓ ภาค ๖ - หนาที่ 74 - 84

อรรถกถาทสรถชาดก

พระศาสดา เมื่อประทับอยูในพระเชตวันมหาวิหาร ทรงพระปรารภกุฎมพีผูบิดาตายแลวคนหนึ่ง จึงตรัสพระธรรมเทศนานี้ มีคําเริ่มตน วา เอถ ลกฺขณสีตาจ ดังนี้.

ความพิสดารวา กุฎมพีนั้น เมื่อบิดาถึงแกกรรมแลว ถูกความเศราโศกครอบงํา จึงทอดทิ้งหนาที่การงานเสียทุกอยาง ครุนแตความเศราโศกอยู แตถายเดียว พระศาสดาทรงตรวจดูสัตวโลกในเวลาใกลรุง ทอดพระเนตรเห็นอุปนิสัยแหงโสดาปตติผลของเขา รุงขึ้นจึงเสด็จโปรดสัตวในกรุงสาวัตถี เสวยพระกระยาหารเสร็จแลว ทรงสงภิกษุทั้งหลายกลับ ทรงชวนไวเปนปจฉาสมณะเพียงรูปเดียว เสด็จไปยังเรือนของเขา เมื่อตรัสเรียกเขาผูนั่งถวายบังคม ดวยพระดํารัสอันไพเราะ จึงตรัสวา ดูกอนอุบาสก ท่านเศราโศกไปทําไม เมื่อ เขากราบทูลวา พระเจาขา ขาแตพระองคผูเจริญ ความเศราโศกถึงบิดากําลัง เบียดเบียนขาพระองค จึงตรัสวา ดูกอนอุบาสก บัณฑิตในปางกอน ทราบ โลกธรรม ๘ ประการ ตามความเปนจริง เมื่อบิดาถึงแกกรรมแลว ก็มิได ประสบความเศราโศก แมสักนอยหนึ่งเลย เขากราบทูลอาราธนา จึงทรงนํา อดีตนิทานมาตรัสวา

ในอดีตกาล พระเจาทสรถมหาราช ทรงละความถึงอคติ เสวยราชสมบัติโดยธรรม ในกรุงพาราณสี พระอัครมเหสีผูเปนใหญกวาสตรี ๑๖,๐๐๐ นางของทาวเธอ ประสูติพระโอรส ๒ พระองค พระธิดา ๑ พระองค พระโอรสองคใหญทรงพระนามวา รามบัณฑิต องคนองทรงพระนามวา ลักขณกุมาร พระธิดาทรงพระนามวา สีดาเทวี ครั้นจําเนียรกาลนานมา พระอัครมเหสีสิ้นพระชนม

 
  ความคิดเห็นที่ 2  
 
chatchai.k
วันที่ 21 พ.ค. 2564

พระราชา เมื่อพระนางสิ้นพระชนมแลว ทรงถึงอํานาจแหง ความเศราโศกตลอดกาลนาน หมูอํามาตยชวยกันกราบทูลใหทรงสราง ทรงกระทําการบริหารที่ควรกระทําแกพระนางแลว ทรงตั้งสตรีอื่นไวในตําแหนงอัครมเหสี พระนางเปนที่รัก เปนที่จําเริญพระหฤทัยของพระราชา ครั้นกาลตอมา แมพระนางก็ทรงพระครรภ ทรงไดรับพระราชทานเครื่องครรภบริหารจึงประสูติ พระราชโอรส พระประยูรญาติขนานพระนามพระโอรสนั้นวา ภรตกุมาร พระราชาตรัสวา แนะนางผูเจริญ ฉันขอใหพรแกเธอ เธอจงรับเถิด ดวยทรงพระเสนหาในพระโอรส พระนางทรงเฉยเสีย ทําทีวาทรงรับแลว จนพระกุมารมีพระชนมายุได ๗-๘ พรรษา จึงเขาไปเฝาพระราชา กราบทูลวา พระทูลกระหมอม พระองคพระราชทานพระพรไวแกบุตรของกระหมอมฉัน บัดนี้ขอทรงพระกรุณาโปรดพระราชทานพระพรนั้นแกเธอ เมื่อพระราชาตรัส วารับเอาเถิด นางผูเจริญ จึงกราบทูลวา ขาแตพระทูลกระหมอม ขอพระองค โปรดทรงพระกรุณาพระราชทานราชสมบัติ แกบุตรของกระหมอมฉันเถิด พระเจาขา

พระราชาทรงตบพระหัตถตรัสขูวา เจาจงยอยยับเสียเถอะ นางถอย บุตรของขา ๒ คน กําลังรุงเรืองเหมือนกองเพลิง เจาจะใหขาฆาเขาทั้ง ๒ คน เสียแลว ขอราชสมบัติใหลูกของเจา พระนางตกพระทัย เสด็จเขาสูพระตําหนักอันทรงสิริ ถึงในวันอื่นๆ เลา ก็คงทูลขอราชสมบัติกับพระราชาเนืองๆ ทีเดียว

พระราชาครั้นไมพระราชทานพระพรแกพระนาง จึงทรงพระดําริ วา ขึ้นชื่อวามาตุคามเปนคนอกตัญู มักทําลายมิตร นางนี้พึงปลอมหนังสือ หรือจางคนโกง ๆ ฆาลูกทั้ง ๒ ของเราเสียได พระองคจึงตรัสสั่งใหพระราช โอรสทั้ง ๒ เขาเฝา ตรัสความนั้น มีพระดํารัสวา พอเอย อันตรายคงจักมี แกพวกเจา ผูอยู ณ ที่นี้ เจาทั้งหลายจงพากันไปสูแดนแหงสามันตราช หรือสูราวปา พากันมาก็ตอเมื่อพอตายแลว ยึดเอาราชสมบัติของตระกูลเถิด ดังนี้

 
  ความคิดเห็นที่ 3  
 
chatchai.k
วันที่ 21 พ.ค. 2564

แลว รับสั่งใหพวกโหราจารยเขาเฝาอีก ตรัสถามกําหนดพระชนมายุของพระองค ทรงสดับวา จักยั่งยืนไปตลอด ๑๒ ปขางหนา จึงตรัสวา พอเอย โดยลวงไป ๑๒ ป ถัดจากนี้ พวกเจาจงพากันมา ใหมหาชนยกฉัตรถวาย พระราชโอรสเหลานั้น กราบทูลวา ดีแลว พระเจาขา พากันถวายบังคม พระราชบิดาทรงพระกันแสง เสด็จลงจากพระปราสาท พระนางสีดาเทวี ทรงพระดําริวา ถึงเราก็จักไปกับพี่ทั้ง ๒ ถวายบังคมพระราชบิดา ทรงพระกันแสง เสด็จออก กษัตริยทั้ง ๓ พระองคนั้น แวดลอมไปดวยมหาชน ออกจากพระนคร ทรงใหมหาชนพากันกลับ เสด็จเขาสูหิมวันตประเทศโดย ลําดับ สรางอาศรม ณ ประเทศอันมีน้ําและมูลผลาผลสมบูรณ ทรงเลี้ยงพระชนมชีพดวยผลาผล พากันประทับอยูแลว

ฝายพระลักขณบัณฑิต และ พระนางสีดา ไดทูลขอรองพระรามบัณฑิตรับปฏิญญาวา พระองคดํารงอยูใน ฐานะแหงพระราชบิดาของหมอมฉัน เหตุนั้นเชิญประทับประจํา ณ อาศรมบท เทานั้นเถิด หมอมฉันทั้ง ๒ จักนําผลาผลมาบํารุงเลี้ยงพระองค จําเดิมแตนั้น มา พระรามบัณฑิต คงประทับประจํา ณ อาศรมบทนั้นเทานั้น พระลักขณบัณฑิต และพระนางสีดา พากันหาผลาผลมาปรนนิบัติพระองค เมื่อกษัตริย ทั้ง ๓ พระองคนั้น ทรงเลี้ยงพระชนมชีพอยูดวยผลาผลอยางนี้ พระเจาทสรถมหาราช เสด็จสวรรคตลงในปที่ ๙ เพราะทรงเศราโศกถึงพระราชโอรส ครั้นจัดการถวายพระเพลิงพระบรมศพของพระเจาทสรถมหาราชเสร็จแลว พระเทวีมีพระดํารัสใหพวกอํามาตยถวายพระเศวตฉัตร แดพระภรตกุมารผู โอรสของตน แตพวกอํามาตยทูลวา เจาของเศวตฉัตรยังอยูในปา ดังนี้แลว จึงไมยอมถวาย พระภรตกุมารตรัสวา เราจักเชิญพระรามบัณฑิต ผูเปนพระภาดามาจากปา ใหทรงเฉลิมพระเศวตฉัตร ทรงถือเครื่องราชกกุธภัณฑ ๕ อยาง พรอมดวยเสนา ๔ เหลา 

 
  ความคิดเห็นที่ 4  
 
chatchai.k
วันที่ 21 พ.ค. 2564

บรรลุถึงที่ประทับของพระรามบัณฑิตนั้น ใหตั้งคายพักแรมอยู ณ ที่อันไมไกล เสด็จเขาไปสูอาศรมบทกับอํามาตย ๒-๓ นาย ในเวลาที่พระลักขณบัณฑิต และพระนางสีดาเสด็จไปปา เขาเฝาพระรามบัณฑิต ผูปราศจากความระแวง ประทับนั่งอยางสบาย ประหนึ่งรูปทองคําที่ตั้งไว ณ ประตูอาศรมบท ถวายบังคม ประทับยืน ณ ที่สมควรขางหนึ่ง กราบทูลขาวของพระราชาแลว ก็ทรงฟุบลงแทบพระบาททั้งคู ทรงพระกันแสงพรอมกับเหลาอํามาตย พระรามบัณฑิต มิไดทรงเศราโศกเลย มิได ทรงพระกันแสงเลย แมเพียงอาการผิดปกติแหงอินทรีย ก็มิไดมีแกพระองค เลย ก็แลในเวลาที่พระภรตะทรงพระกันแสงประทับนั่ง เปนเวลาสายัณหสมัย พระลักขณบัณฑิต และพระนางสีดาทั้ง ๒ พระองค ทรงพากันถือผลาผล เสด็จมาถึง

พระรามบัณฑิตทรงดําริวา เจาลักขณะและแมสีดายังเปนเด็ก ยังไมมีปรีชากําหนดถี่ถวนเหมือนเรา ไดรับบอกเลาวา บิดาของเธอสวรรคต แลวโดยรวดเร็ว เมื่อไมอาจจะยับยั้งความเศราโศกไวได แมหัวใจของเธอ ก็อาจแตกไปได เราตองใชอุบายใหเจาลักขณะและแมสีดาจงไปแชน้ํา แลว ใหไดฟงขาวนั้น ลําดับนั้น ทรงชี้แองน้ําแหงหนึ่ง ขางหนาแหงกษัตริยทั้ง ๒ พระองคนั้น ตรัสวา เจาทั้ง ๒ มาชานัก นี่เปนทัณฑกรรมของเจา เจาจง ลงไปแชน้ํายืนอยู ดังนี้แลว จึงตรัสกึ่งพระคาถาวา มานี่แนะเจาลักขณะ และนางสีดาทั้ง ๒ จงมา ลงน้ํา

คําอันเปนคาถานั้น มีอธิบายวา นานี่แนะเจาลักขณะและนางสีดา จงพากันมา จงลงสูน้ําทั้ง ๒ คน

 
  ความคิดเห็นที่ 5  
 
chatchai.k
วันที่ 21 พ.ค. 2564

พระลักขณะและพระนางสีดาทั้ง ๒ พระองคนั้น พากันเสด็จลงไป ประทับยืนอยู ดวยพระดํารัสครั้งเดียวเทานั้น ลําดับนั้น พระรามบัณฑิต เมื่อจะทรงบอกขาวแหงพระราชบิดาแกกษัตริยทั้ง ๒ พระองคนั้น จึงตรัสกึ่ง คาถาที่เหลือวา พอภรตะนี้ กลาวอยางนี้วา พระราชาทสรถ สวรรคตเสียแลว

พระลักขณะและพระนางสีดาทั้ง ๒ พระองคนั้น พอไดสดับขาววา พระราชบิดาสวรรคตเทานั้น ก็พากันวิสัญญีสลบไป. พระรามบัณฑิตตรัสบอก ซ้ําอีก ก็พากันสลบไปอีก หมูอํามาตยชวยกันอุมกษัตริยทั้ง ๒ พระองค อันทรงถึงวิสัญญีภาพไปถึง ๓ ครั้ง ดวยอาการอยางนี้ ขึ้นจากน้ําใหประทับนั่ง บนบก เมื่อเธอทั้ง ๒ ไดลมอัสสาสปสสาสะแลว ทุกพระองคตางก็ประทับนั่ง ทรงพระกันแสงคร่ําครวญกันเรื่อย

ครั้งนั้น พระภรตกุมาร ทรงพระดําริวา พระภาดาของเรา ลักขณกุมารและพระภคินีสีดาเทวีของเรา สดับขาววา พระทสรถสวรรคตเสียแลว มิอาจจะยับยั้งความเศราโศกไวได แตพระรามบัณฑิต มิไดทรงเศราโศก มิไดทรงคร่ําครวญเลย อะไรเลาหนอ เปนเหตุ แหงความไมเศราโศกของพระองค ตองถามพระองคดู

เมื่อทาวเธอจะตรัส ถามพระองค จึงตรัสพระคาถาที่ ๒ วา พี่รามบัณฑิต ดวยอานุภาพอะไร เจาพี่จึงไม เศราโศก ถึงสิ่งที่ควรเศราโศก ความทุกขมิไดครอบงํา พี่ เพราะไดสดับวา พระราชบิดาสวรรคตเลา

บรรดาบทเหลานั้น บทวา ปภาเวน แปลวา ดวยอานุภาพ

บทวา น ต ปสหเต ทุกฺข ความวา ความทุกขเห็นปานนี้ เหตุไรจึงไมบีบคั้นพี่ไดเลย อะไรเปนเครื่องบังคับมิใหพี่เศราโศกเลย โปรดแจงแกหมอมฉันกอน

 
  ความคิดเห็นที่ 6  
 
chatchai.k
วันที่ 21 พ.ค. 2564

ลําดับนั้น พระรามบัณฑิต เมื่อจะแสดงเหตุที่บังคับมิใหพระองคทรง เศราโศก แกพระกุมารภรตะนั้น จึงตรัสวา คนเราไมสามารถจะรักษาชีวิต ที่คนเปนอันมาก พร่ําเพอถึง นักปราชญผูรูแจงจะทําตนเพื่อใหเดือดรอน เพื่ออะไรกัน

ทั้งเด็กทั้งผูใหญ ทั้งพาลทั้งบัณฑิต ทั้งคนมั่งมี ทั้งคนยากจน ลวนบายหนาไปหามฤตยูทั้งนั้น ผลไมที่สุกแลว ก็พลันแตจะหลนลงเปนแน ฉันใด สัตวทั้งหลายเกิดมาแลว ก็พลันแตจะตาย เปนแน ฉันนั้น

เวลาเชาเห็นกันอยูมากคน พอถึงเวลาเย็น บางคนก็ไมเห็นกัน เวลาเย็นเห็นกันอยูมากคน พอ ถึงเวลาเชาบางคนก็ไมเห็นกัน

ถาผูที่คร่ําครวญหลงเบียดเบียดตนอยู จะพึงได รับประโยชนสักเล็กนอยไซร บัณฑิตผูมีปรีชา ก็จะ พึงทําเชนนั้นบาง

ผูเบียดเบียนตนของตนอยู ยอมซูบผอม ปราศจากผิวพรรณ สัตวผูละไปแลวไมไดชวยคุมครองรักษา ดวยการร่ําไหนั้นเลย การร่ําไหไรประโยชน

คนฉลาดพึงดับไฟที่ไหมเรือนดวยน้ํา ฉันใด คนผูเปนนักปราชญ ไดรับการศึกษามาดีแลว มีปญญา เฉลียวฉลาด พึงรีบกําจัดความเศราโศกที่เกิดขึ้นโดยพลัน เหมือนลมพัดปุยนุน ฉะนั้น

 
  ความคิดเห็นที่ 7  
 
chatchai.k
วันที่ 21 พ.ค. 2564

คน ๆ เดียวเทานั้น ตายไป คนเดียวเทานั้น เกิดในตระกูล สวนการคบหากันของสรรพสัตว มีการเกี่ยวของกันเปนอยางยิ่ง

เพราะเหตุนั้นแล ความเศราโศกแมจะมากมาย ก็ไมทําจิตใจของนักปราชญผูเปนพหูสูต มองเห็น โลกนี้และโลกหนา รูทั่วถึงกรรมใหเรารอนได เราจักใหยศ และโภคสมบัติ แกผูที่ควรจะได จักทะนุบํารุงภริยา ญาติทั้งหลาย และคนที่เหลือ นี้ เปนกิจของบัณฑิตผูปรีชา

พระรามบัณฑิต ไดประกาศถึงอนิจจตาดวยคาถา ๖ คาถาเหลานี้

บรรดาบทเหลานั้น บทวา ปาเลตุ ไดแก เพื่อจะรักษา

บทวา ลปต ไดแก ผูบนเพออยู ทานกลาวคําอธิบายไวดังนี้วา พอภรตะเอย ชีวิตของสัตวทั้งหลาย บรรดาที่พากันร่ําไหถึงกันมากมาย แมสักคนเดียว ก็มิอาจจะรักษาไวไดวา อยาขาดไปเลยนะ บัดนี้ผูเชนเรานั้น รูโลกธรรมทั้ง ๘ ประการ โดยความเปนจริง ชื่อวา วิญูชน มีความหลักแหลมเปนบัณฑิต ในเมื่อเหลาสัตวผูมีชีวิต มีความตายเปนที่สุด ตายไปแลว จะยังตนใหเขาไปเดือดรอน เพื่ออะไรกัน คือเหตุไรจึงจะแผดเผาตน ดวยความทุกขของตน อันหาอุปการะมิได. คาถาวา ทหรา จ เปนตน มีอธิบายวา พอภรตะเอย ขึ้น ชื่อวา มฤตยู นี้ มิไดละอาย ตอคนหนุมผูเชนกับรูปทองคํา มีขัตติยกุมารเปนตนเลย และมิไดเกรงขามยอมหาโยธาทั้งหลาย ผูถึงความเจริญโดยคุณ มิได เกรงกลัวเหลาสัตว ผูสันดานหนาเปนพาล มีไดยําเกรงปวงบัณฑิต มีพระพุทธเจาเปนตน มิไดหวั่นเกรงมวลอิสริยชน มีพระเจาจักรพรรดิเปนตน มิ ไดอดสูตอคนขัดสนไมเวนตัว ฝูงสัตวเหลานี้ แมทั้งหมดลวนบายหนาไปหา มฤตยู พากันยอยยับแหลกลาญที่ปากแหงความตายทั้งนั้นแหละ

 
  ความคิดเห็นที่ 8  
 
chatchai.k
วันที่ 21 พ.ค. 2564

บทวา ปตนโต ไดแก โดยการตกไป มีอธิบายวา ดูกอนพอภรตะเอย เปรียบเหมือน ผลไมอันสุกแลว ตั้งแตเวลาที่สุกแลวไป ก็มีแตจะรอเวลารวงหลน วาจะพราก จากขั้วหลนลงบัดนี้ หลนลงเดี๋ยวนี้ คือผลไมเหลานั้น มีแตจะคอยระแวงอยู อยางนี้วา ความหวั่นที่จะตองหลนเปนการแนนอนเที่ยงแท มีแตเรื่องนั้น ถายเดียวเทานั้น ฉันใด แมฝูงสัตวที่ตองตาย ที่เกิดมาแลว ก็ฉันนั้น หวั่นเกรง แตที่จะตายถายเดียวเทานั้น ขณะหรือครูที่ฝูงสัตวเหลานั้น จะไมตองระแวง ความตายนั้น ไมมีเลย

บทวา สาย แปลวา ในเวลาเย็น ดวยบทวา สาย นี้ ทานแสดงถึงการที่ไมปรากฏของผูที่เห็นกันอยูในเวลากลางวัน ในเวลา กลางคืน และของสัตวผูเห็นกันอยูในเวลากลางคืน ในเวลากลางวัน

บทวา กิฺจิทตฺถ ความวา ถาคนเราคร่ําครวญอยูดวยคิดวา พอของเรา ลูกของ เรา ดังนี้เปนตน หลงใหลเบียดเบียนตนอยู ใหตนลําบากอยู จะพึงนํา ประโยชนมาแมสักหนอย

บทวา กยิรา เจ น วิจกฺขโณ ความวา เมื่อ เปนเชนนั้น บุรุษผูเปนบัณฑิตพึงร่ําไหเชนนั้น. แตเพราะผูร่ําไหอยู ไม สามารถจะนําผูตายแลวมาได หรือสามารถจะทําความเจริญอื่นๆ แกผูตายแลว นั้นได เหตุนั้นจึงเปนกิริยาที่ไรประโยชน แกผูที่ถูกร่ําไหถึง บัณฑิตทั้งหลาย จึงไมร่ําไห

บทวา อตฺตานมตฺตโน ความวา ผูร่ําไหกําลังเบียดเบียน อัตภาพของตน ดวยทุกขคือความโศกและความร่ําไห

บทวา น เตน ความ วา ดวยความร่ําไหนั้น ฝูงสัตวผูไปปรโลกแลว ยอมจะคุมครองไมได จะยังตนใหเปนไมไดเลย

 
  ความคิดเห็นที่ 9  
 
chatchai.k
วันที่ 21 พ.ค. 2564

บทวา นิรตฺถา ความวา เพราะเหตุนั้น การร่ําไหถึงฝูง สัตวผูตายไปแลวเหลานั้นจึงเปนกริยาที่หาประโยชนมิได

บทวา สรณ ไดแก เรือนเปนที่อยูอาศัย ทานกลาวคําอธิบายนี้ไววา บุรุษผูเปนบัณฑิต เมื่อเรือน ถูกไฟไหม ก็ไมตองตกใจแมสักครู รีบดับเสียดวยน้ําตั้งพันหมอทันที ฉันใด ธีรชนก็ฉันนั้น พึงดับความโศกที่เกิดขึ้นแลว โดยทันทีทีเดียว กําจัดปดเปา เสียโดยวิธี ที่ความโศกจะไมอาจตั้งอยูได เหมือนลมพัดปุยนุน ฉะนั้น ในบทวา เอโกว มจฺโจ มีอธิบายดังตอไปนี้ พอภรตะเอย ฝูงสัตวเหลานี้ ชื่อวา มีกรรมเปนของของตน สัตวผูไปสูปรโลกจากโลกนี้ ผูเดียวจากฝูงสัตว เหลานั้น ลวงไปผานไป แมเมื่อเกิดในตระกูลมีกษัตริยเปนตน ผูเดียวเทานั้น ไปเกิด สวนความรวมคบหากันของสัตวทั้งปวงในที่นั้นๆ มีการเกี่ยวของกัน นั้นวา ผูนี้เปนบิดาของเรา ผูนี้เปนมารดาของเรา ผูนี้เปนญาติมิตรของเรา ดังนี้ ดวยอํานาจที่เกี่ยวของกัน ทางญาติ ทางมิตร เทานั้นเปนอยางยิ่ง แต เมื่อวาโดยปรมัตถ ฝูงสัตวเหลานี้ ในภพทั้ง ๓ มีกรรมเปนของของตนทั้งนั้น

บทวา ตสฺมา ความวา เพราะเวนความเกี่ยวของทางญาติ ทางมิตร อัน เปนเพียงการคบหากัน ของสัตวเหลานี้เสียแลว ตอจากนั้นยอมเปนอื่นไปไม ได ฉะนั้น

บทวา สมฺปสฺสโต ไดแก เห็นโลกนี้และโลกหนา อันมีความ พลัดพรากจากกันเปนสภาวะโดยชอบ

บทวา อฺาย ธมฺม ไดแก เพราะ รูโลกธรรม ๘ ประการ

บทวา หทย มนฺจ นี้ ทั้ง ๒ บท เปนชื่อของจิต นั่นเอง ทานกลาวคําอธิบายไว ดังนี้วา โปฏฐปาทะเอย ธรรมในมวลมนุษยเหลานี้ คือ มีลาภ ไมมีลาภ มียศ ไมมียศ นินทา สรรเสริญ สุขและทุกข เปนของไมเที่ยง เธออยาเศราโศก เธอ จะเศราโศกไปทําไม ดังนี้

 
  ความคิดเห็นที่ 10  
 
chatchai.k
วันที่ 21 พ.ค. 2564

ความเศราโศกแมจะใหญหลวง ซึ่งมีบุตรที่เปนที่รักตายไปเปนวัตถุ ยอมปรากฏทางจิต ดวยโลกธรรม ๘ ประการอยางใดอยางหนึ่งนี้ และยอมไม แผดเผาหทัย ของธีรชนผูดํารงอยู เพราะไดรูถึงสภาวธรรมอันนั้นวาเปนของ ไมเที่ยง

อีกนัยหนึ่ง พึงเห็นความในขอนี้ อยางนี้วา ความเศราโศกแมวา จะใหญหลวงก็จะแผดเผาหทัยวัตถุ และใจของธีรชนไมได เพราะมาทราบโลก ธรรม ๘ ประการนี้

บทวา โสห ยสฺจ โภคฺจ ความวา พอภรตะ เอย การรองไหร่ําไห เหมือนของพวกคนอันธพาล ไมสมควรแกเราเลย แต เราเมื่อพระราชบิดาลวงลับไปดํารงอยูในฐานะของพระองคนั่นแล จะใหทานแก คนที่ควรให มีพวกคนกําพราเปนตน ใหตําแหนงแกผูที่ควรใหตําแหนง ให ยศแกผูที่ควรจะใหยศ บริโภคอิสริยยศโดยนัยที่พระราชบิดาของเราทรงบริโภค ทรงเลี้ยงหมูญาติ จะคุมครองคนที่เหลือ คือคนภายในและคนที่เปนบริวาร จักกระทําการปกปองและคุมครองกันโดยธรรม แกสมณะและพราหมณผูทรง ธรรม เพราะทั้งนี้เปนกิจอันสมควรของผูรูคือ ผูเปนบัณฑิต ฝูงชนฟงธรรมเทศนาอันประกาศความไมเที่ยง ของพระรามบัณฑิตนี้ แลว พากันสรางโศก

ตอจากนั้น พระภรตกุมารบังคมพระรามบัณฑิตทูล วา เชิญพระองคทรงรับราชสมบัติ ในพระนครพาราณสีเถิด ดูกอนพอ ทานจงพาพระลักขณและสีดาเทวีไปครองราชสมบัติกันเถิด ทูลถามวา ก็ พระองคเลา พระเจาขา ตรัสวา พอเอย พระบิดาของฉันไดตรัสไว กะฉันวา ตอลวง ๑๒ ป เจาคอยมาครองราชสมบัติ เมื่อฉันจะไป ณ บัดนี้เลา ก็เปนอันไมชื่อวาไมกระทําตามพระดํารัสของพระองค แตครั้น พนจาก ๓ ป อื่นไปแลว ฉันจักยอมไป ทูลถามวา ตลอดกาลเพียงนี้ ใครจักครองราชสมบัติเลา พวกเธอครองซี ทูลวา หากหมอมฉันไมครอง ตรัสวา ถาเชนนั้นรองเทาคูนี้จักครองจนกวาฉันไป แลวทรงถอดฉลองพระบาททําดวยหญาของพระองคประทานให

 
  ความคิดเห็นที่ 11  
 
chatchai.k
วันที่ 21 พ.ค. 2564

กษัตริยทั้ง ๓ พระองครับฉลองพระบาทบังคมพระรามบัณฑิต แวดลอมดวยมหาชน เสด็จไปสูพระนคร พาราณสี ฉลองพระบาทครองราชสมบัติตลอด ๓ ป พวกอํามาตยพากันวาง ฉลองพระบาทหญาเหนือราชบังลังก แลวพากันตัดสินคดี ถาตัดสินไมดี ฉลองพระบาทก็กระทบกัน ดวยสัญญานั้น ตองพากันตัดสินใหม เวลาที่ตัด สินชอบแลว ฉลองพระบาทปราศจากเสียงและคงเงียบอยู ตอนั้นสามป พระรามบัณฑิตจึงเสด็จออกจากปาบรรลุถึงพระนครพาราณสี เสด็จเขาสูพระราช อุทยาน

พระกุมารทั้งหลาย ทรงทราบความที่พระองคเสด็จมา มีหมูอํามาตย แวดลอมเสด็จไปพระอุทยาน ทรงกระทํานางสีดาเปนอัครมเหสีแลวอภิเษกทั้งคู พระมหาสัตวทรงปราบดาภิเษกแลว ประทับเหนือราชรถอันอลงกต เสด็จเขาสูพระนครดวยบริวารขบวนใหญ ทรงเลียบพระนคร แลวเสด็จขึ้นสูทองพระโรง แหงพระสุนันทนปราสาท ตั้งแตนั้น ทรงครองราชสมบัติโดยธรรม ตลอดหมื่นหกพันป ในเวลาสิ้นพระชนมายุ ทรงยังเมืองสวรรคใหเนืองแนน แลว อภิสัมพุทธคาถานี้วา พระเจารานผูมีพระศอดุจกลองทอง มีพระพาหาใหญ ทรงครอบครองราชสมบัติอยูตลอด ๑๖,๐๐๐ ป ดังนี้ ยอมประกาศเนื้อความนั้น

บรรดาบทเหลานั้น บทวา กมฺพุคิโว ความวา มีพระศอ เชนกับ แผนทองคํา จริงอยู ทองคําเรียกวา กัมพุ

พระศาสดาทรงนําพระธรรมเทศนานี้มาแลว ทรงประกาศสัจจะ ใน เวลาจบสัจจะ กุฎมพีดํารงในโสดาปตติผล ทรงประชุมชาดกวา พระทสรถมหาราชครั้งนั้น ไดมาเปนสุทโธทนมหาราช พระมารดาไดมาเปน พระมหามายา สีดาไดมาเปนมารดาของราหุล เจาภรตะไดมาเปน อานนท เจาลักขณ ไดมาเปนสารีบุตร บริษัทไดมาเปนพุทธบริษัท สวน รามบัณฑิตไดมาเปนเราตถาคตแล

จบอรรถกถาทสรถชาดก

 
  ความคิดเห็นที่ 12  
 
chatchai.k
วันที่ 21 พ.ค. 2564

ขอนอบน้อมแด่พระผู้มีพระภาคอรหันตสัมมาสัมพุทธเจ้าพระองค์นั้น

 
  ความคิดเห็นที่ 13  
 
swanjariya
วันที่ 10 มี.ค. 2567

กราบเท้าบูชาคุณท่านอาจารย์ด้วยความเคารพยิ่ง

 
เขียนความคิดเห็น กรุณาเข้าระบบ