พระไตรปิฎกและอรรถกถาแปล ฉบับมหามกุฏราชวิทยาลัย

[เล่มที่ 38] พระสุตตันตปิฎก อังคุตตรนิกาย ทสก-เอกาทสกนิบาต เล่ม ๕

 
บ้านธัมมะ
วันที่  29 ส.ค. 2564
หมายเลข  36315
อ่าน  1,382

[เล่มที่ 38] พระสุตตันตปิฎก อังคุตตรนิกาย ทสก-เอกาทสกนิบาต เล่ม ๕

ขอนอบน้อมแด่พระผู้มีพระภาคอรหันตสัมมาสัมพุทธเจ้าพระองค์นั้น


  ข้อความที่ 1  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 4 พ.ย. 2564

อังคุตตรนิกาย ทสกนิบาต

ปฐมปัณณาสก์

อานิสังสวรรคที่ ๑

๑. กิมัตถิยสูตร ว่าด้วยศีลที่เป็นกุศล มีอะไรเป็นผลเป็นอานิสงส์

๒. เจตนาสูตร ว่าด้วยผู้มีศีลสมบูรณ์ ไม่ต้องตั้งเจตนาให้เกิดอวิปปฏิสาร

๓. สีลสูตร ว่าด้วยอวิปปฏิสารไม่มีแก่ผู้ทุศีล มีแก่ผู้มีศีลสมบูรณ์

๔. อุปนิสาสูตร ว่าด้วยอวิปปฏิสารอันบุคคลผู้ทุศีลขจัดเสียแล้ว

๕. อานันทสูตร ว่าด้วยอวิปปฏิสารไม่มีแก่ผู้ทุศีล มีแก่ผู้มีศีลสมบูรณ์

๖. สมาธิสูตร ว่าด้วยไม่พึงสําคัญปฐวีธาตุว่าเป็นปฐวีธาตุเป็นต้น

๗. สาริปุตตสูตร ว่าด้วยไม่พึงสําคัญปฐวีธาตุว่าเป็นปฐวีธาตุเป็นต้น

๘. สัทธาสูตร ว่าด้วยภิกษุมีศรัทธาเป็นต้น ย่อมก่อให้เกิดความเลื่อมใสโดยรอบ

๙. สันตสูตร ว่าด้วยภิกษุผู้ประกอบด้วยธรรม ๑๐ ย่อมก่อให้เกิดความเลื่อมใสโดยรอบ

๑๐. วิชชยสูตร ว่าด้วยภิกษุผู้ประกอบด้วยธรรม ๑๐ ย่อมก่อให้เกิดความเลื่อมใสโดยรอบ

 
  ข้อความที่ 2  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 4 พ.ย. 2564

ปฐมปัณณาสก์

นาถกรณวรรคที่ ๒

๑. เสนาสนสูตร ว่าด้วยภิกษุผู้ประกอบด้วยองค์ ๕ เสพเสนาสนะประกอบด้วยองค์ ๕ พึงสิ้นอาสวะในเวลาไม่นาน

๒. อังคสูตร ว่าด้วยภิกษุผู้ละองค์ ๕ ประกอบด้วยองค์ ๕ เป็นอุดมบุรุษ

๓. สังโยชนสูตร ว่าด้วยสังโยชน์ ๑๐

๔. ขีลสูตร ว่าด้วยตะปูตรึงใจ ๕ เครื่องผูกพันใจ ๕

๕. อัปปมาทสูตร ว่าด้วยความไม่ประมาทเป็นยอดของกุศลธรรมทั้งหมด

๖. อาหุเนยยสูตร ว่าด้วยอาหุเนยยบุคคล ๑๐ จําพวก

๗. ปฐมนาถสูตร ว่าด้วยธรรมอันกระทําที่พึ่ง ๑๐ ประการ

๘. ทุติยนาถสูตร ว่าด้วยธรรมอันกระทําที่พึ่ง ๑๐ ประการ

๙. ปฐมอริยวสสูตร ว่าด้วยธรรมเป็นที่อยู่แห่งพระอริยะ ๑๐ ประการ

๑๐. ทุติยอริยวสสูตร ว่าด้วยธรรมเป็นที่อยู่แห่งพระอริยะ ๑๐ ประการ

 
  ข้อความที่ 3  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 4 พ.ย. 2564

ปฐมปัณณาสก์

มหาวรรคที่ ๓

๑. สีหสูตร ว่าด้วยกําลังของพระตถาคต ๑๐ ประการ

๒. อธิมุตติสูตร ว่าด้วยกําลังของพระตถาคต ๑๐ ประการ

๓. กายสูตร ว่าด้วยธรรมที่ละด้วยกายวาจาไม่ได้ แต่ละได้ด้วยปัญญา

๔. มหาจุนทสูตร ว่าด้วยพระมหาจุนทะสอนภิกษุ

๕. กสิณสูตร ว่าด้วยกสิณ ๑๐

๖. กาลีสูตร ว่าด้วยกาลีอุบาสิกาถามปัญหาท่านพระมหากัจจายนะ

๗. ปฐมมหาปัญหาสูตร ว่าด้วยปัญหา อุเทศ ไวยากรณ์อย่างละ ๑ ถึง ๑๐

๘. ทุติยมหาปัญหาสูตร ว่าด้วยอุบาสกชาวเมืองกชังคละถามปัญหากชังคลาภิกษุณี

๙. ปฐมโกสลสูตร ว่าด้วยพระผู้มีพระภาคเจ้าทรงแก้คํากล่าวตู่ของสมณพราหมณ์นอกศาสนา

๑๐. ทุติยโกสลสูตร ว่าด้วยพระเจ้าปเสนทิโกศลทรงนอบน้อมต่อพระผู้มีพระภาคเจ้า

 
  ข้อความที่ 4  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 4 พ.ย. 2564

ปฐมปัณณาสก์

อุปาลิวรรคที่ ๔

๑. ปฐมอุปาลิสูตร ว่าด้วยพระผู้มีพระภาคเจ้าทรงอาศัยประโยชน์ ๑๐ ประการ ทรงบัญญัติสิกขาบทและแสดงพระปาติโมกข์

๒. ทุติยอุปาลิสูตร ว่าด้วยการหยุดสวดปาติโมกข์ ๑๐ ประการ

๓. อุพพาหสูตร ว่าด้วยภิกษุประกอบด้วยธรรม ๑๐ ประการ สงฆ์พึงสมมติให้รื้อฟื้นอธิกรณ์

๔. อุปสัมปทาสูตร ว่าด้วยภิกษุประกอบด้วยธรรม ๑๐ ประการ พึงให้กุลบุตรอุปสมบท

๕. นิสสยสูตร ว่าด้วยภิกษุประกอบด้วยธรรม ๑๐ ประการ พึงให้นิสัย

๖. สามเณรสูตร ว่าด้วยภิกษุประกอบด้วยธรรม ๑๐ ประการ พึงให้สามเณรอุปัฏฐาก

๗. อุปาลิสังฆเภทสูตร ว่าด้วยวัตถุ ๑๐ ประการ ที่ทําให้สงฆ์แตกกัน

๘. อุปาลิสามัคคีสูตร ว่าด้วยวัตถุ ๑๐ ประการ ที่ทําให้สงฆ์พร้อมเพรียงกัน

๙. อานันทสังฆเภทสูตร ว่าด้วยผู้ทําลายสงฆ์ผู้พร้อมเพรียงกัน ย่อมเสวยผลในนรกตลอดกัปหนึ่ง

๑๐. อานันทสังฆสามัคคีสูตร ว่าด้วยผู้สมานสงฆ์ผู้แตกกัน ย่อมบันเทิงอยู่ในสวรรค์ตลอดกัป

 
  ข้อความที่ 5  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 5 พ.ย. 2564

ปฐมปัณณาสก์

อักโกสวรรคที่ ๕

๑. วิวาทสูตร ว่าด้วยเหตุปัจจัยให้สงฆ์วิวาทกัน

๒. ปฐมวิวาทมูลสูตร ว่าด้วยมูลเหตุแห่งการวิวาท ๑๐ ประการ

๓. ทุติยวิวาทมูลสูตร ว่าด้วยมูลเหตุแห่งการวิวาท ๑๐ ประการ

๔. กุสินาราสูตร ว่าด้วยภิกษุผู้ประสงค์จะโจทผู้อื่น พึงพิจารณาธรรม ๕ ประการในตน

๕. ปเวสนสูตร ว่าด้วยโทษในการเข้าไปในพระราชวังชั้นใน ๑๐ ประการ

๖. สักกสูตร ว่าด้วยพระผู้มีพระภาคเจ้า ทรงเตือนอุบาสกชาวสักกะให้รักษาอุโบสถเป็นนิตย์

๗. มหาลิสูตร ว่าด้วยเหตุแห่งการทําบาปกรรมและกัลยาณกรรม

๘. อภิณหปัจจเวกขณธรรมสูตร ว่าด้วยธรรมที่บรรพชิตพึงพิจารณาเนืองๆ ๑๐ ประการ

๙. สรีรัฏฐธรรมสูตร ว่าด้วยธรรมที่ตั้งอยู่ในสรีระ ๑๐ ประการ

๑๐. ภัณฑนสูตร ว่าด้วยธรรม ๑๐ ประการ ที่เป็นเหตุให้ไม่วิวาทกัน

 
  ข้อความที่ 6  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 5 พ.ย. 2564

ทุติยปัณณาสก์

สจิตตวรรคที่ ๑

๑. สจิตตสูตร ว่าด้วยภิกษุพึงเป็นผู้ฉลาดในวาระจิตของตน

๒. สาริปุตตสูตร ว่าด้วยภิกษุพึงเป็นผู้ฉลาดในวาระจิตของตน

๓. ฐิติสูตร ว่าด้วยพระผู้มีพระภาคเจ้าทรงสรรเสริญความตั้งอยู่ในกุศลธรรม

๔. สมถสูตร ว่าด้วยสิ่งที่ควรเสพและไม่ควรเสพ

๕. ปริหานสูตร ว่าด้วยภิกษุพึงเป็นผู้ฉลาดในวาระจิตของตน

๖. ปฐมสัญญาสูตร ว่าด้วยการเจริญสัญญา ๑๐ ประการ ที่มีผลมากมีอานิสงส์มาก

๗. ทุติยสัญญาสูตร ว่าด้วยการเจริญสัญญา ๑๐ ประการ ที่มีผลมากมีอานิสงส์มาก

๘. มูลสูตร ว่าด้วยธรรมทั้งปวงมีฉันทะเป็นมูล มีนิพพานเป็นที่สุด

๙. ปัพพชิตสูตร ว่าด้วยจิตของบรรพชิตที่ได้รับการอบรมดีแล้ว ย่อมได้ผล ๒ อย่าง

๑๐. อาพาธสูตร ว่าด้วยทรงแสดงสัญญา ๑๐ ประการแก่พระคิริมานนท์ผู้อาพาธ

 
  ข้อความที่ 7  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 5 พ.ย. 2564

ทุติยปัณณาสก์

ยมกวรรคที่ ๒

๑. อวิชชาสูตร ว่าด้วยโพชฌงค์ ๗ เป็นอาหารของวิชชาและวิมุตติ

๒. ตัณหาสูตร ว่าด้วยอวิชชาเป็นอาหารของภวตัณหา

๓. นิฏฐาสูตร ว่าด้วยบุคคล ๑๐ จําพวก ที่เชื่อมั่นในพระตถาคต

๔. อเวจจสูตร ว่าด้วยบุคคล ๑๐ จําพวก ที่เลื่อมใสอย่างมั่นคงในพระตถาคต

๕. ปฐมสุขสูตร ว่าด้วยเหตุให้เกิดทุกข์และสุข

๖. ทุติยสุขสูตร ว่าด้วยเหตุให้เกิดทุกข์และสุข

๗. ปฐมนฬกปานสูตร ว่าด้วยผู้ไม่มีศรัทธาในกุศลธรรม พึงได้ความเสื่อมในกุศลธรรม

๘. ทุติยนฬกปานสูตร ว่าด้วยผู้มีศรัทธาในกุศลธรรม ไม่หวังได้ความเสื่อมเลย

๙. ปฐมวัตถุกถาสูตร ว่าด้วยกถาวัตถุ ๑๐ ประการ

๑๐. ทุติยวัตถุกถาสูตร ว่าด้วยฐานะที่ควรสรรเสริญ ๑๐ ประการ

 
  ข้อความที่ 8  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 5 พ.ย. 2564

ทุติยปัณณาสก์

อากังขวรรคที่ ๓

๑. อากังขสูตร ว่าด้วยภิกษุสําเร็จความหวังเพราะเป็นผู้สมบูรณ์ด้วยศีลเป็นต้น

๒. กัณฏกสูตร ว่าด้วยธรรมอันเป็นปฏิปักษ์ ๑๐ ประการ

๓. อิฏฐสูตร ว่าด้วยธรรม ๑๐ ประการที่น่าปรารถนา หาได้ยากในโลก

๔. วัฑฒิสูตร ว่าด้วยความเจริญ ๑๐ ประการ

๕. มิคสาลาสูตร ว่าด้วยไม่ให้ถือประมาณในบุคคลว่าเสื่อมหรือเจริญ แต่ให้ถือประมาณในธรรม

๖. อภัพพสูตร ว่าด้วยธรรม ๓ ประการมีอยู่ในโลก พระสัมมาสัมพุทธเจ้าจึงบังเกิดในโลก

๗. กากสูตร ว่าด้วยอสัทธรรม ๑๐ ประการ

๘. นิคันถสูตร ว่าด้วยอสัทธรรม ๑๐ ประการของพวกนิครนถ์

๙. อาฆาตวัตถุสูตร ว่าด้วยวัตถุแห่งความอาฆาต ๑๐ ประการ

๑๐. อาฆาตปฏิวินยสูตร ว่าด้วยอุบายเป็นเครื่องกําจัดความอาฆาต ๑๐ ประการ

 
  ข้อความที่ 9  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 5 พ.ย. 2564

ทุติยปัณณาสก์

เถรวรรคที่ ๔

๑. วาหุนสูตร ว่าด้วยพระตถาคตสลัดออกจากธรรม ๑๐ ประการ ชื่อว่ามีพระทัยปราศจากแดนกิเลส

๒. อานันทสูตร ว่าด้วยภิกษุประกอบด้วยธรรม ๑๐ ประการ จักเจริญงอกงามในธรรมวินัยนี้

๓. ปุณณิยสูตร ว่าด้วยธรรมเทศนาประกอบด้วยธรรม ๑๐ ประการ แจ่มแจ้งแก่พระตถาคตโดยส่วนเดียว

๔. พยากรณสูตร ว่าด้วยภิกษุละธรรม ๑๐ ประการ จักถึงความเจริญงอกงามในธรรมวินัยนี้

๕. กัตถีสูตร ว่าด้วยภิกษุละธรรม ๑๐ ประการ จักถึงความเจริญงอกงามในธรรมวินัย

๖. อัญญสูตร ว่าด้วยภิกษุละธรรม ๑๐ ประการ จักถึงความเจริญงอกงามในธรรมวินัยนี้

๗. อธิกรณสูตร ว่าด้วยภิกษุประกอบด้วยธรรม ๑๐ ประการ ย่อมไม่เป็นอันหนึ่งอันเดียวกัน

๘. พยสนสูตร ว่าด้วยภิกษุกล่าวโทษพระอริยะ พึงถึงความพินาศ ๑๐ อย่าง

๙. โกกาลิกสูตร ว่าด้วยพระโกกาลิกภิกษุ กล่าวอาฆาตพระสารีบุตรและพระมหาโมคคัลลานะ

๑๐. พลสูตร ว่าด้วยกําลังของพระขีณาสพ ๑๐ ประการ

 
  ข้อความที่ 10  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 5 พ.ย. 2564

ทุติยปัณณาสก์

อุบาสกวรรคที่ ๕

๑. กามโภคีสูตร ว่าด้วยกามโภคีบุคคล ๑๐ จําพวก

๒. เวรสูตร ว่าด้วยอริยสาวกระงับภัยเวร ๕ ประการ

๓. ทิฏฐิสูตร ว่าด้วยอนาถบิณฑิกเศรษฐีบอกทิฏฐิของตนแก่อัญญเดียรถีย์

๔. วัชชิยสูตร ว่าด้วยวัชชิยมาหิตคฤหบดีข่มขี่อัญญเดียรถีย์ปริพาชก

๕. อุตติยสูตร ว่าด้วยพระผู้มีพระภาคเจ้าทรงแสดงธรรมแก่สาวกเพื่อความรู้ยิ่ง

๖. โกกนุทสูตร ว่าด้วยพระอานนท์ตอบปัญหาโกกนุทปริพาชก

๗. อาหุเนยยสูตร ว่าด้วยภิกษุประกอบด้วยธรรม ๑๐ ประการ เป็นผู้ควรของคํานับ

๘. เถรสูตร ว่าด้วยภิกษุผู้เถระประกอบด้วยธรรม ๑๐ ประการ ย่อมอยู่สําราญ

๙. อุปาลิสูตร ว่าด้วยพระอุบาลีทูลขอไปอยู่เสนาสนะป่า พระผู้มีพระภาคเจ้าไม่ทรงอนุญาต

๑๐. อภัพพสูตร ว่าด้วยบุคคลละธรรม ๑๐ ประการไม่ได้ เป็นผู้ไม่ควรทําให้แจ้งอรหัต

 
  ข้อความที่ 11  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 6 พ.ย. 2564

ตติยปัณณาสก์

สมณสัญญาวรรคที่ ๑

๑. สมณสัญญาสูตร ว่าด้วยภิกษุเจริญสมณสัญญา ๓ ประการแล้ว ย่อมยังธรรม ๗ ประการให้บริบูรณ์

๒. โพชฌงคสูตร ว่าด้วยภิกษุเจริญโพชฌงค์ ๗ แล้ว ย่อมยังวิชชา ๓ ให้บริบูรณ์

๓. มิจฉัตตสูตร ภิกษุอาศัยมิจฉัตตะ ๑๐ จึงพลาดจากสวรรค์และมรรคผล

๔. สัมมัตตสูตร ว่าด้วยภิกษุอาศัยสัมมัตตะ ๑๐ จึงบรรลุสวรรค์และมรรคผล

๕. อวิชชาวิชชาสูตร ว่าด้วยอวิชชาและวิชชา

๖. นิชชรวัตถุสูตร ว่าด้วยเหตุแห่งการเสื่อมไป ๑๐ ประการ

๗. โธวนสูตร ว่าด้วยการล้างของพระอริยะ

๘. ติกิจฉสูตร ว่าด้วยยาถ่ายของพระอริยะ

๙. วมนสูตร ว่าด้วยยาสํารอกของพระอริยะ

๑๐. นิทธมสูตร ว่าด้วยธรรมอันบุคคลพึงปัดเป่า ๑๐ ประการ

๑๑. อเสขสูตร ว่าด้วยเหตุที่เรียกว่าพระอเสขะ

๑๒. อเสขธรรมสูตร ว่าด้วยธรรมของพระอเสขะ ๑๐ ประการ

 
  ข้อความที่ 12  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 6 พ.ย. 2564

ตติยปัณณาสก์

ปัจโจโรหณิวรรคที่ ๒

๑. ปฐมอธรรมสูตร ว่าด้วยควรทราบทั้งสิ่งที่ไม่เป็นธรรมสิ่งที่ไม่เป็นประโยชน์ และสิ่งที่เป็นธรรมสิ่งที่เป็นประโยชน์

๒. ทุติยอธรรมสูตร ว่าด้วยบุคคลพึงปฏิบัติตามสิ่งที่เป็นธรรมและตามสิ่งที่เป็นประโยชน์

๓. ตติยอธรรมสูตร ว่าด้วยพระอานนท์แสดงจําแนกธรรมที่พระผู้มีพระภาคทรงแสดงแล้วโดยพิสดาร

๔. อาชินสูตร ว่าด้วยอาชินปริพาชก

๕. สคารวสูตร ว่าด้วยฝั่งนี้และฝั่งโน้น

๖. โอริมสูตร ว่าด้วยฝั่งนี้และฝั่งโน้น

๗. ปฐมปัจโจโรหณีสูตร ว่าด้วยพิธีปลงบาปของพระอริยะ

๘. ทุติยปัจโจโรหณีสูตร ว่าด้วยพิธีปลงบาปของพระอริยะ

๙. ปุพพังคสูตร ว่าด้วยสัมมาทิฏฐิเป็นนิมิตเบื้องต้นแห่งกุศลธรรมทั้งหลาย

๑๐. อาสวสูตร ว่าด้วยบุคคลเจริญธรรม ๑๐ ประการให้มากย่อมสิ้นอาสวะ

 
  ข้อความที่ 13  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 6 พ.ย. 2564

ตติยปัณณาสก์

ปาริสุทธิวรรคที่ ๓

๑. ปริสุทธิสูตร ว่าด้วยธรรม ๑๐ ที่เว้นจากสุคตวินัยแล้วไม่มี

๒. อุปปันนสูตร ว่าด้วยธรรม ๑๐ ที่เว้นจากสุคตวินัยแล้วย่อมไม่เกิดขึ้น

๓. มหัปผลสูตร ว่าด้วยธรรม ๑๐ ที่มีผลมากมีอานิสงส์มาก เว้นจากสุคตวินัยแล้วไม่มี

๔. ปริโยสานสูตร ว่าด้วยธรรม ๑๐ ประการที่กําจัดราคะ โทสะ โมหะเป็นที่สุด

๕. เอกันตสูตร ว่าด้วยธรรม ๑๐ ประการเป็นไปเพื่อความตรัสรู้

๖. ปฐมภาวิตสูตร ว่าด้วยธรรม ๑๐ ประการที่บุคคลเจริญทําให้มากแล้ว ที่ยังไม่เกิดย่อมเกิดขึ้น

๗. ทุติยภาวิตสูตร ว่าด้วยธรรม ๑๐ ที่มีผลมากมีอานิสงส์มาก

๘. ตติยภาวิตสูตร ว่าด้วยธรรม ๑๐ ประการที่บุคคลเจริญแล้วกําจัดราคะ โทสะ โมหะได้

๙. จตุตถภาวิตสูตร ว่าด้วยธรรม ๑๐ ประการที่บุคคลเจริญแล้วเป็นไปเพื่อตรัสรู้

๑๐. มิจฉัตตสูตร ว่าด้วยมิจฉัตตธรรม ๑๐ ประการ

๑๑. สัมมัตตสูตร ว่าด้วยสัมมัตตธรรม ๑๐ ประการ

 
  ข้อความที่ 14  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 6 พ.ย. 2564

ตติยปัณณาสก์

สาธุวรรคที่ ๔

๑. สาธุสูตร ว่าด้วยสิ่งดีและไม่ดี

๒. อริยธรรมสูตร ว่าด้วยอริยธรรมและอนริยธรรม

๓. กุสลสูตร ว่าด้วยกุศลธรรมและอกุศลธรรม

๔. อรรถสูตร ว่าด้วยประโยชน์และสิ่งไม่เป็นประโยชน์

๕. ธรรมสูตร ว่าด้วยธรรมและอธรรม

๖. อาสวธรรมสูตร ว่าด้วยธรรมที่มีอาสวะและไม่มีอาสวะ

๗. สาวัชชธรรมสูตร ว่าด้วยธรรมที่มีโทษและไม่มีโทษ

๘. ตปนิยธรรมสูตร ว่าด้วยธรรมเป็นที่ตั้งแห่งความเร่าร้อนและไม่เร่าร้อน

๙. อาจยคามิธรรมสูตร ว่าด้วยธรรมที่เป็นไปเพื่อสั่งสมกิเลสและไม่สั่งสมกิเลส

๑๐. ทุกขุทรยธรรมสูตร ว่าด้วยธรรมที่มีทุกข์และสุขเป็นกําไร

๑๑. ทุกขวิปากธรรมสูตร ว่าด้วยธรรมที่มีทุกข์และสุขเป็นวิบาก

 
  ข้อความที่ 15  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 6 พ.ย. 2564

ตติยปัณณาสก์

อริยมรรควรรคที่ ๕

๑. อริยมรรคสูตร ว่าด้วยธรรมที่เป็นอริยมรรคและไม่เป็นอริยมรรค

๒. กัณหมรรคสูตร ว่าด้วยธรรมที่เป็นมรรคดําและมรรคขาว

๓. สัทธรรมสูตร ว่าด้วยสัทธรรมและอสัทธรรม

๔. สัปปุริสธรรมสูตร ว่าด้วยสัปปุริสธรรมและอสัปปุริสธรรม

๕. อุปปาเทตัพพธรรมสูตร ว่าด้วยธรรมที่ควรให้เกิดขึ้นและธรรมที่ไม่ควรให้เกิดขึ้น

๖. อาเสวิตัพพธรรมสูตร ว่าด้วยธรรมที่ควรเสพและธรรมที่ไม่ควรเสพ

๗. ภาเวตัพพธรรมสูตร ว่าด้วยธรรมที่ควรเจริญและธรรมที่ไม่ควรเจริญ

๘. พหุลีกาตัพพธรรมสูตร ว่าด้วยธรรมที่ควรทําให้มากและธรรมที่ไม่ควรทําให้มาก

๙. อนุสสริตัพพธรรมสูตร ว่าด้วยธรรมที่ควรระลึกและไม่ควรระลึก

๑๐. สัจฉิกาตัพพธรรมสูตร ว่าด้วยธรรมที่ทําให้แจ้งและธรรมที่ไม่ควรทําให้แจ้ง

 
  ข้อความที่ 16  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 6 พ.ย. 2564

จตุตถปัณณาสก์

ปุคคลวรรคที่ ๑

ว่าด้วยบุคคลผู้ประกอบด้วยธรรม ๑๐ ประการ

 
  ข้อความที่ 17  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 6 พ.ย. 2564

จตุตถปัณณาสก์

ชาณุสโสณีวรรคที่ ๒

๑. ปฐมปัจโจโรหณีสูตร ว่าด้วยพิธีปลงบาปของพราหมณ์และพระอริยะ

๒. ทุติยปัจโจโรหณีสูตร ว่าด้วยพิธีปลงบาปของพระอริยะ

๓. สคารวสูตร ว่าด้วยฝั่งนี้และฝั่งโน้น

๔. โอริมสูตร ว่าด้วยฝั่งนี้และฝั่งโน้น

๕. ปฐมอธรรมสูตร ว่าด้วยธรรมที่บุคคลควรทราบ

๖. ทุติยอธรรมสูตร ว่าด้วยธรรมที่บุคคลควรทราบ

๗. ตติยอธรรมสูตร ว่าด้วยธรรมที่บุคคลควรทราบ

๘. ติวิธสูตร ว่าด้วยความสิ้นเหตุของกรรมเพราะสิ้นราคะ โทสะ โมหะ

๙. สปริกกมนสูตร ว่าด้วยธรรมที่ควรงดเว้นและธรรมที่ไม่ควรงดเว้น

๑๐. จุนทสูตร ว่าด้วยความสะอาดในวินัยของพระอริยะ

๑๑. ชาณุสโสณีสูตร ว่าด้วยการอุทิศทานให้แก่ผู้ล่วงลับไปแล้ว

 
  ข้อความที่ 18  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 6 พ.ย. 2564

จตุตถปัณณาสก์

สุนทรวรรคที่ ๓

๑. สาธุอสาธุสูตร ว่าด้วยสิ่งดีและสิ่งไม่ดี

๒. อริยานริยธรรมสูตร ว่าด้วยอริยธรรมและอนริยธรรม

๓. กุสลากุสลสูตร ว่าด้วยกุศลธรรมและอกุศลธรรม

๔. อัตถานัตถสูตร ว่าด้วยสิ่งที่เป็นประโยชน์และสิ่งที่ไม่เป็นประโยชน์

๕. ธรรมาธรรมสูตร ว่าด้วยธรรมและอธรรม

๖. สาสวานาสวสูตร ว่าด้วยธรรมที่มีอาสวะและธรรมที่ไม่มีอาสวะ

๗. สาวัชชานวัชชสูตร ว่าด้วยธรรมที่มีโทษและธรรมที่ไม่มีโทษ

๘. ตปนิยาตปนิยธรรมสูตร ว่าด้วยธรรมเป็นที่ตั้งแห่งความเดือดร้อนและไม่เดือดร้อน

๙. อาจยคามยาปจยคามิธรรมสูตร ว่าด้วยธรรมที่เป็นไปเพื่อสั่งสมกิเลสและไม่สั่งสมกิเลส

๑๐. ทุกขุทรยสุขุทรยธรรมสูตร ว่าด้วยธรรมที่มีทุกข์และสุขเป็นกําไร

๑๑. ทุกขวิปากสุขวิปากธรรมสูตร ว่าด้วยธรรมที่มีทุกข์และสุขเป็นวิบาก

 
  ข้อความที่ 19  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 6 พ.ย. 2564

จตุตถปัณณาสก์

เสฏฐวรรคที่ ๔

๑. อริยมรรคานริยมรรคสูตร ว่าด้วยธรรมที่เป็นอริยมรรคและไม่ใช่อริยมรรค

๒. กัณหมรรคสุกกมรรคสูตร ว่าด้วยธรรมที่เป็นมรรคาดําและมรรคาขาว

๓. สัทธรรมาสัทธรรมสูตร ว่าด้วยสัทธรรมและอสัทธรรม

๔. สัปปุริสธรรมาสัปปุริสธรรมสูตร ว่าด้วยสัปปุริสธรรมและอสัปปุริสธรรม

๕. อุปปาเทตัพพานุปาเทตัพพธรรมสูตร ว่าด้วยธรรมที่ควรให้เกิดขึ้นและไม่ควรให้เกิดขึ้น

๖. อาเสวิตัพพานาเสวิตัพพธรรมสูตร ว่าด้วยธรรมที่ควรเสพและไม่ควรเสพ

๗. ภาเวตัพพาภาเวตัพพธรรมสูตร ว่าด้วยธรรมที่ควรให้เจริญและไม่ควรให้เจริญ

๘. พหุลีกาตัพพาพหุลีกาตัพพธรรมสูตร ว่าด้วยธรรมที่ควรทําให้มากและไม่ควรทําให้มาก

๙. อนุสสริตัพพานนุสสริตัพพธรรมสูตร ว่าด้วยธรรมที่ควรระลึกถึงและไม่ควรระลึกถึง

๑๐. สัจฉิกาตัพพาสัจฉิกาตัพพธรรมสูตร ว่าด้วยธรรมที่ควรทําให้แจ้งและไม่ควรทําให้แจ้ง

 
  ข้อความที่ 20  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 6 พ.ย. 2564

จตุตถปัณณาสก์

เสวิตัพพาเสวิตัพพวรรคที่ ๕

ว่าด้วยบุคคลผู้ประกอบด้วยธรรม ๑๐ ประการไม่ควรเสพ

 
  ข้อความที่ 21  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 6 พ.ย. 2564

ปัญจมปัณณาสก์

ปฐมวรรคที่ ๑

๑. ยถาภตสูตร ว่าด้วยบุคคลผู้ประกอบด้วยธรรม ๑๐ ประการ เป็นผู้ถูกทอดทิ้งไว้ในนรกหรือได้รับเชิญมาไว้ในสวรรค์

๒. มาตุคามสูตร ว่าด้วยมาตุคามประกอบด้วยธรรม ๑๐ ประการ เป็นผู้ถูกทอดทิ้งไว้ในนรกหรือได้รับเชิญมาไว้ในสวรรค์

๓. ปฐมอุปาสิกาสูตร ว่าด้วยอุบาสิกาผู้ประกอบด้วยธรรม ๑๐ ประการ เป็นผู้ถูกทอดทิ้งไว้ในนรกหรือได้รับเชิญมาไว้ในสวรรค์

๔. ทุติยอุปาสิกาสูตร ว่าด้วยอุบาสิกาผู้ประกอบด้วยธรรม ๑๐ ประการ เป็นผู้ไม่แกล้วกล้าและแกล้วกล้าอยู่ครองเรือน

๕. ธรรมปริยายสูตร ว่าด้วยธรรมปริยายอันเป็นเหตุแห่งความกระเสือกกระสน

๖. ปฐมกรรมสูตร ว่าด้วยความสุดสิ้นแห่งกรรม

๗. ทุติยกรรมสูตร ว่าด้วยกรรมที่สัตว์ตั้งใจสะสมขึ้น

๘. ตติยกรรมสูตร ว่าด้วยการทําที่สุดทุกข์แห่งกรรมที่สัตว์ตั้งใจทํา

๙. พราหมณสูตร ว่าด้วยเหตุปัจจัยที่ให้สัตว์เข้าถึงอบาย ทุคติ วินิบาต นรก

 
  ข้อความที่ 23  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 7 พ.ย. 2564

ปัญจมปัณณาสก์

ตติยวรรคที่ ๓

ว่าด้วยผู้ประกอบด้วยธรรม ๑๐ ๒๐ ๓๐ ๔๐ ประการ ตายแล้วไปอบายหรือสุคติ

ว่าด้วยผู้ประกอบด้วยธรรม ๑๐ ๒๐ ๓๐ ๔๐ ประการ เป็นพาลหรือเป็นบัณฑิต

จบทสกนิบาต

 
  ข้อความที่ 24  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 7 พ.ย. 2564

อังคุตตรนิกาย เอกาทสกนิบาต

นิสสายวรรคที่ ๑

๑. กิมัตถิยสูตร ว่าด้วยผลของศีลที่เป็นกุศล

๒. เจตนาสูตร ว่าด้วยอานิสงส์ของผู้มีศีล

๓. ปฐมอุปนิสาสูตร ว่าด้วยอวิปปฏิสารมีเหตุอันบุคคลผู้ทุศีลมีศีลวิบัติขจัดเสียแล้ว

๔. ทุติยอุปนิสาสูตร ว่าด้วยบุคคลผู้ทุศีลกําจัดอวิปปฏิสาร

๕. ตติยอุปนิสาสูตร ว่าด้วยผู้ทุศีลขจัดอวิปปฏิสาร

๖. พยสนสูตร ว่าด้วยความฉิบหาย ๑๑ อย่าง

๗. สัญญาสูตร ว่าด้วยพึงเป็นผู้มีสัญญาในอารมณ์ต่างๆ กัน

๘. มนสิการสูตร ว่าด้วยการกระทําอารมณ์ต่างๆ ไว้ในใจ

๙. อเสขสูตร การเพ่งของม้าอาชาไนยและม้ากระจอก

๑๐. โมรนิวาปนสูตร ว่าด้วยผู้ประกอบด้วยธรรม ๓ ประการ เป็นผู้มีความสําเร็จล่วงส่วน

 
  ข้อความที่ 25  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 7 พ.ย. 2564

เอกาทสกนิบาต

ทุติยวรรคที่ ๒

๑. ปฐมมหานามสูตร ว่าด้วยเจ้าศากยะมหานามะทูลถามถึงธรรมเป็นเครื่องอยู่

๒. ทุติยมหานามสูตร ว่าด้วยเจ้าศากยะมหานามะทูลถามถึงธรรมเป็นเครื่องอยู่

๓. นันทิยสูตร ว่าด้วยเจ้าศากยะนันทิยะทูลถามถึงธรรมเป็นเครื่องอยู่

๔. สุภูติสูตร ว่าด้วยลักษณะแห่งศรัทธา

๕. เมตตาสูตร ว่าด้วยอานิสงส์ของเมตตา ๑๑ ประการ

๖. ทสมสูตร ว่าด้วยธรรมอย่างเอก อันเป็นที่หลุดพ้นแห่งจิตที่ยังไม่หลุดพ้น

๗. โคปาลกสูตร ว่าด้วยองค์ ๑๑ ของผู้เลี้ยงโค

๘. ปฐมสมาธิสูตร ว่าด้วยการได้สมาธิ

๙. ทุติยสมาธิสูตร ว่าด้วยการได้สมาธิ

๑๐. ตติยสมาธิสูตร ว่าด้วยการได้สมาธิ

๑๑. จตุตถสมาธิสูตร ว่าด้วยการได้สมาธิ

 
  ข้อความที่ 26  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 8 พ.ย. 2564

พระสูตรที่ไม่สงเคราะห์ด้วยปัณณาสก์

ว่าด้วยองค์ประกอบของนายโคบาล ๑๑ ประการ

จบเอกาทสกนิบาต

คําสรุปท้ายอรรถกถา