๓. ตุณฑิลชาดก ว่าด้วยธรรมเหมือนน้ํา บาปธรรมเหมือนเหงื่อไคล

 
chatchai.k
วันที่  28 พ.ค. 2564
หมายเลข  34306
อ่าน  558

[เล่มที่ 59] พระสุตตันตปิฎก ขุททกนิกาย ชาดก เล่ม ๓ ภาค ๕ - หนาที่ 136

๓. ตุณฑิลชาดก

วาดวยธรรมเหมือนน้ํา บาปธรรมเหมือนเหงื่อไคล

[๙๑๗] บัดนี้ วันนี้ แมเราใหอาหารสําหรับขุน ใหม รางอาหารนี้เต็ม นายแมยืนใกลราง อาหาร คนหลายคนมีมือถือบวง อาหารนั้น ไมแจมชัดสําหรับฉัน เพื่อจะกินอาหาร.

[๙๑๘] เจาสะดุง เจาหัวหมุนไปไย เจา ประสงคจะหลีกหนีไป เจาไมมีผูตานทาน จัก ไปไหน? นองตุณฑิละเอย เจาจงเปนผูขวนขวายแตนอย กินไปเถิด พวกเราถูกขุนเพื่อ ตองการเนื้อ.

[๙๑๙] เจาจงลงสูหวงน้ํา ที่ไมมีโคลนตม ชําระ. ลางเหงื่อไคลทั้งหมด แลวถือเอาเครื่องลูบไล ใหม ซึ่งแตไหนแตไรมา มีกลิ่นหอมไมขาด สาย.

[๙๒๐] หวงน้ําอะไรหนอที่ไมมีโคลนตม อะไร หนอเรียกวาเหงื่อไคล? อะไรเรียกวาเครื่อง ลูบไลใหม กลิ่นอะไรไมขาดหาย มาแตไหน แตไร

[๙๒๑] หวงน้ําคือพระธรรม ไมมีโคลนตม. บาป เรียกวาเหงื่อไคล และศีลเรียกวาเครื่องลูบไล ใหม แตไหนแตไรมา กลิ่นของศีลนั้นไมเคย ขาดหายไป

[๙๒๒] เหลาชน ผูไมรู ผูฆาสัตวกิน เปนปกติ จะเพลิดเพลินใจ สวนผูรักษาชีวิตสัตว ไม ฆาสัตว เปนปกติ จะไมเพลิดเพลินใจ เมื่อ วันเดือนเพ็ญมีพระจันทรเต็มดวงแลว เหลา ชนผูรื่นเริงใจอยูเทานั้น จึงจะสละชีพได

จบ ตุณฑิลชาดกที่ ๓


  ความคิดเห็นที่ 1  
 
chatchai.k
วันที่ 28 พ.ค. 2564

[เล่มที่ 59] พระสุตตันตปิฎก ขุททกนิกาย ชาดก เล่ม ๓ ภาค ๕ - หนาที่ 137

อรรถกถาตุณฑิลชาดกที่ ๓

พระศาสดาเมื่อประทับอยู ณ พระวิหารเชตวัน ทรงปรารภ ภิกษุผูกลัวตายรูปหนึ่ง จึงตรัสเรื่องนี้ มีคําเริ่มตนวา นวจฺฉทฺทเก ดังนี้. ไดยินวา กุลบุตรชาวเมืองสาวัตถีนั้น บวชในพระศาสนาแตได เปนผูกลัวตาย. เธอไดยินเสียงกิ่งไมสั่นไหว. ทอนไมตก. เสียงนก

 
  ความคิดเห็นที่ 2  
 
chatchai.k
วันที่ 28 พ.ค. 2564

พระสุตตันตปฎกขุททกนิกาย ชาดกเลม ๓ ภาค ๕ - หนาที่ 138

หรือสัตวสี่เทา แมเพียงเล็กนอย คือเบา ๆ หรือเสียงอยางอื่นแบบนั้น ก็จะเปนผูถูกภัยคือความตายขู เดินตัวในรูปเหมือนกระตายถูกแทงที่ ทองฉะนั้น. ภิกษุทั้งหลายพากันตั้งคาถา คือเรื่องสนทนาขึ้นในธรรม สภาวา ดูกอนอาวุโส ภิกษุชื่อโนนกลัวตาย ไดยินเสียงแมเพียง เล็กนอย ก็รองพลางวิ่งพลางหนีไป ควรจะมนสิการวา ก็ความตาย ของสัตวทั้งหลายเหลานี้เทานั้นเปนของเที่ยง แตชีวิตไมเที่ยง ดังนี้. พระศาสดาเสด็จมาถึง ตรัสถามวา ดูกอนภิกษุทั้งหลาย นั่งสนทนากัน ดวยเรื่องอะไรนะ เมื่อภิกษุทั้งหลายทูลวา ดวยเรื่องชื่อนี้ ดังนี้แลว ตรัสสั่งใหหาภิกษุนั้นมา แลวตรัสถามวา ดูกอนภิกษุ ไดทราบวา เธอ กลัวตายจริงหรือ เมื่อภิกษุนั้นทูลรับวา ถูกแลวพระเจาขา ดังนี้ จึง ตรัสวา ดูกอนภิกษุทั้งหลาย ไมเฉพาะในปจจุบันนี้เทานั้น แมในชาติ กอน ภิกษุนี้ก็กลัวตายเหมือนกัน แลวไดทรงนําเอาเรื่องในอดีตมา สาธก ดังตอไปนี้.

ในอดีตกาล เมื่อพระเจาพรหมทัตครองราชสมบัติอยูในนคร พาราณสี พระโพธิสัตว ไดถือปฏิสนธิในทองของแมสุกร. แมสุกร ทองแกครบกําหนดแลว คลอดลูก ๒ ตัว. อยูมาวันหนึ่งมันพาลูก ๒ ตัวนั้นไปนอนที่หลุมแหงหนึ่ง. กาละครั้งนั้น หญิงชราคนหนึ่งมี ปกติอยูบานใกลประตูนครพาราณสี เก็บฝายไดเต็มกระบุงจากไรฝาย เดินเอาไมเทายันดินมา. แมสุกรไดยินเสียงนั้นแลว ทิ้งลูกนอยหนีไป เพราะกลัวตาย. หญิงชราเห็นลูกสุกรกลับไดความสําคัญวาเปนลูก จึง

 
  ความคิดเห็นที่ 3  
 
chatchai.k
วันที่ 28 พ.ค. 2564

พระสุตตันตปฎกขุททกนิกาย ชาดกเลม ๓ ภาค ๕ - หนาที่ 139

เอาใสกระบุงไปถึงเรือน แลวตั้งชื่อตัวพี่วา มหาตุณฑิละ ตัวนองวา จุลตุณฑิละ เลี้ยงมันเหมือนลูก. ในเวลาตอมามันเติบโตขึ้น ไดมีรางกายอวน หญิงชราถึงจะถูกทาบทามวา จงขายหมูเหลานี้ใหพวกฉันเถิด ก็บอกวา ลูกของฉัน แลวไมใหใคร ภายหลังในวันมหรสพ

วันหนึ่งพวกนักเลงดื่มสุรา เมื่อเนื้อหมด ก็หารือกันวา พวกเราจะไดเนื้อจากที่ไหนหนอ ทราบวา ที่บานหญิงชรามีสุกร จึงพากันถือเหลา ไปที่นั้น พูดวา คุณยายครับ ขอใหคุณยายรับเอาราคาสุกรแลวใหสุกรตัวหนึ่งแกพวกผมเถิด หญิงชรานั้น แมจะปฏิเสธวา อยาเลยหลานเอย สุกรนั้นเปนลูกฉัน ธรรมดาคนจะใหลูกแกคนที่ตองการจะกินเนื้อไมมีหรอก

พวกนักเลงแมจะออนวอนแลวออนวอนเลาวา ขึ้นชื่อ วาหมูจะเปนลูกของคนไมมีนะ ใหมันแกพวกผมเถิด ก็ไมไดสุกร จึงใหหญิงชราดื่มสุรา เวลาแกเมาแลว ก็พูดวายาย ยายจะทําอะไรกับหมู ยายเอาราคาหมูนี้ไปไวทําเปนคาใชจายเถิด แลววางเหรียญกระษาปณ ไวในมือหญิงชรา หญิงชรารับเอาเหรียญกระษาปณ พูดวา หลายเอย ยายไมอาจจะใหสุกรชื่อมหาตุณฑิละได แกจงพากันเอาจุลตุณฑิละไป. มันอยูที่ไหน นักเลงถาม ที่กอไมกอโนน หญิงชราตอบ ยายใหเสียง เรียกมันสิ นักเลงสั่ง ฉันไมเห็นอาหาร หญิงชราตอบ

 
  ความคิดเห็นที่ 4  
 
chatchai.k
วันที่ 28 พ.ค. 2564

พระสุตตันตปฎกขุททกนิกาย ชาดกเลม ๓ ภาค ๕ - หนาที่ 140

นักเลงทั้งหลายจึงใหคาอาหารใหไป นําขาวมา ๑ ถาด หญิงชรา รับเอาคาอาหารนั้น จัดชื้อขาว เทใหเต็มรางหมูที่วางไวใกลประตูแลว ไดยืนอยูใกลๆ ราง นักเลงประมาณ ๓ คน มีบวงในมือ ไดยืน อยู ณ ที่นั้นนั่นเอง

หญิงชราไดใหเสียงรองเรียกหมูวา ลูกจุลตุณฑิละมาโวย มหาตุณฑิละไดยินเพียงนั้นแลว รูแลววา ตลอดเวลา ประมาณเทานี้ แมเราไมเคยใหเสียงแกจุลตุณฑิละ สงเสียงถึงเรากอน ทั้งนั้น วันนี้คงจักมีภัยเกิดขึ้นแกพวกเราแนแท มหาตุณฑิละ จึง เรียกจุลตุณฑิละมาแลวบอกวา นองเอย แมของเราเรียกเจา เจาลงไป ใหรูเรื่องกอน จุลตุณฑิละ ก็ออกจากกอไมไป เห็นวานักเลงเหลานั้น ยืนอยูใกลรางขาวก็รูวา วันนี้ความตายจะเกิดขึ้นแกเราแลว ถูกมรณภัยคุกคามอยู จึงหันกลับ ตัวสั่นไปหาพี่ชาย ไมอาจจะยืนอยูได ตัวสั่น หมุนไป รอบๆ

มหาตุณฑิละเห็นเขาแลว จึงถามวา นองเอย ก็วันนี้เจาสั่นเทาไป เห็นสถานที่เปนที่เขาไปแลว เจาทําอะไรนั่น มันเมื่อจะบอกเหตุ ที่ตนไดเห็นมา จึงกลาวคาถาที่ ๑ วา:-

บัดนี้ วันนี้แมเราใหอาหารสําหรับขุนใหม รางอาหารนี้เต็ม นายแมยืนใกลรางอาหาร คน หลายคนมีมือถือบวง อาหารนั้นไมแจมชัด สําหรับฉัน เพื่อกินอาหาร

 
  ความคิดเห็นที่ 5  
 
chatchai.k
วันที่ 28 พ.ค. 2564

พระสุตตันตปฎกขุททกนิกาย ชาดกเลม ๓ ภาค ๕ - หนาที่ 141

บรรดาบทเหลานั้น บทวา นวจฺฉทฺทเก ทานิ ทิยฺยติ ความวา พี่ เมื่อกอนแมใหขาวตมที่ปรุงดวยรําหรือขาวสวย ที่ปรุงดวยขาว ตังแกพวกเรา แตวันนี้ใหอาหารสําหรับขุนใหม คือทานมีอาหารใหม.

บทวา ปุณฺณาย โทณิ ความวา รางอาหารของพวกเรานี้ เต็มไป ดวยขาวสวยลวน ๆ.

บทวา สุวามินี ิตา ความวา ฝายนายแมของ พวกเรา ก็ไดยืนอยูใกลๆ รางอาหารนั้น.

บทวา พหุโก ชโน ความ วา มิใชแตนายแมยืนอยางเดียวเทานั้น แมคนอื่นอีกหลายคน ไดยืน มีมือถือบวงอยู.

บทวา โน จ โข เม ปฏิภาติ ความวา แมภาวะที่คน เหลานี้ ยืนอยูแลวอยางนี้ ไมแจมกระจางสําหรับฉัน อธิบายวา ฉันไม ชอบใจ แมเพื่อจะกินขาวนี้.

มหาสัตวไดฟงดังนั้นแลว พูดวา นองจุลตุณฑิละเอยไดทราบวา ธรรมดาแมของเรา เมื่อเลี้ยงสุกรไวในที่นี้นั่นเอง ยอมเลี้ยงเพื่อ ประโยชนอันใด ประโยชนอันนั้นของทานถึงที่สุดแลวในวันนี้ นอง อยาคิดเลย เมื่อจะแสดงธรรมโดยลีลาพระพุทธเจา ดวยเสียงที่ไพเราะ จึงไดกลาวคาถา ๒ คาถาวา :-

เจาสะดุง เจาหัวหมุนรูปไปไย เจาประสงค จะหลีกหนีไป เจาไมมีผูตานทานจักไปไหน นองตุณฑิละเอย เจาจงเปนผูขวนขวายแตนอย กินไปเถิด พวกเราถูกเขาขุนเพื่อตองการเนื้อ

 
  ความคิดเห็นที่ 6  
 
chatchai.k
วันที่ 28 พ.ค. 2564

พระสุตตันตปฎกขุททกนิกาย ชาดกเลม ๓ ภาค ๕ - หนาที่ 142

เจาจงลงสูหวงน้ําที่ไมมีโคลนตม ชําระลาง เหงื่อไคลทั้งหมด แลวถือเอาเครื่องลูบไลใหม ซึ่งแตไหนแตไรมา มีกลิ่นหอมไมขาดสาย.

เมื่อมหาตุณฑิละมหาสัตวนั้น รําลึกถึงบารมีทั้งหลาย แลวทํา เมตตาบารมีใหเปนปุเรจาริก ออกหนา ยกบทแรกมาเปนตัวอยางอยู นั่นเอง เสียงไดดังไปทวมนครพาราณสี ที่กวางยาวทั้งสิ้น ๑๒ โยชน. ในขณะที่คนทั้งหลายไดยิน ๆ นั่นแหละ ชาวนครพาราณสี ตั้งตนแต พระราชา และพระอุปราชเปนตน ไดพากันมาตามเสียง. ฝายผูไม ไดมาอยูที่บานนั่นเองก็ไดยิน.

ราชบุรุษทั้งหลายพากันถางพุมไม ปราบ พื้นที่ใหเสมอแลวเกลี่ยทรายลง. ผูใหสุราแกนักเลงทั้งหลายก็งดให. พวกนักเลงพากันทิ้งบวงแลวไดยินฟงธรรมกันทั้งนั้น. ฝายหญิงชราก็ หายเมา. มหาสัตวไดกลาวปรารภเทศนาแกจุลตุณฑิละทามกลางมหาชน.

บรรดาบทเหลานั้น บทวา ตสสิ ภมสิ ความวา หวาดสะดุง เพราะกลัวตาย เมื่อลําบากดวยความหวาดสะดุง เพราะความกลัวตาย นั้นนั่นแหละ เธอจึงหัวหมุน.

บทวา เลณมิจฺฉสิ ไดแกมองหาที่พึ่ง

บทวา อตาโณสิ ความวา นองเอย เมื่อกอนมารดาของเราเปนที่พึ่ง ที่ระลึกได แตวันนี้ทานหมดอาลัยทอดทิ้งเราแลว บัดนี้เจาจักไปไหน.

บทวา โอคาห ไดแกลงไปอยู. อีกอยางหนึ่งปาฐะวาอยางนี้เหมือนกัน

บทวา ปวาหย ไดแกใหเหงื่อไคลทั้งหมดลอยไป.

บทวา น ฉิชฺชต

 
  ความคิดเห็นที่ 7  
 
chatchai.k
วันที่ 28 พ.ค. 2564

พระสุตตันตปฎกขุททกนิกาย ชาดกเลม ๓ ภาค ๕ - หนาที่ 143

ไดแกไมหายไป. มีอธิบายวาถาหากเจาสะดุงกลัวความตายไซร ก็จงลงสูสระโบกขรณีที่ไมมีโคลนตม ชําระลางเหงื่อและไคลทั้งหมด ในตัวของเจา แลวลูบไลดวยเครื่องลูบไลที่หอมฟุงอยูเปนนิตย. จุลตุณฑิละไดยินคํานั้นแลวคิดวา พี่ชายของเราพูดอยางนี้ วงศ ของพวกเราไมมีการลงสระโบกขรณี แลวอาบน้ําชําระลางเหงื่อไคล ออกจากสรีระราง การนําเอาเครื่องลูบไลเกาออกไปแลวเอาเครื่องลูบไล ใหมที่มีกลิ่นหอมฟุงลูบไลไมมีในกาลไหนเลย พี่ชายของเราพูดอยาง นี้ หมายถึงอะไรกันหนอ ดังนี้แลวเมื่อจะถามจึงกลาวคาถาที่๘ วา :-

หวงน้ําอะไรหนอที่ไมมีโคลนตม อะไร หนอ เรียกวาเหงื่อไคล อะไรเรียกวาเครื่อง ลูบไลใหม กลิ่นอะไรไมขาดหายมาแตไหน แตไร

พระมหาสัตวไดยินคําตอบนั้นแลวจึงกลาววาถาเชนนั้นเธอจง เงี่ยโสตฟง เมื่อจะแสดงธรรมดวยพุทธลีลาไดกลาวคาถาเหลานี้วา:-

หวงน้ําคือพระธรรมไมมีโคลนตม บาป เรียกวาเหงื่อไคล และศีลเรียกวาเครื่องลูบไล ใหม แตไหนแตไรมา กลิ่นของศีลนั้นไมขาด หายไป เหลาชน ผูไมรู ผูฆาสัตวกิน เปน

 
  ความคิดเห็นที่ 8  
 
chatchai.k
วันที่ 28 พ.ค. 2564

พระสุตตันตปฎกขุททกนิกาย ชาดกเลม ๓ ภาค ๕ - หนาที่ 144

ปกติ จะเพลิดเพลินใจ สวนผูรักษาชีวิตสัตว ไมฆาสัตวเปนปกติ จะไมเพลิดเพลินใจเมื่อ วันเดือนเพ็ญ มีพระจันทรเต็มดวงแลว เหลา ชนผูรื่นเริงใจอยูเทานั้น จึงจะสละชีพได.

บรรดาบทเหลานั้น บทวา ธมฺโม ความวา ธรรมะแมทั้งหมด นี้ คือศีล ๕ ศีล ๑๐ สุจริต ๓ โพธิปกขิยธรรม ๓๗ ประการ และ อมตมหานิพพาน ชื่อวา ธรรม.

บทวา อกทฺทโม ความวา ชื่อวาไม มีโคลนตม เพราะไมมีโคลนตมคือกิเลส ไดแก ราคะ โทสะ โมหะ มานะ และทิฏฐิ. ดวยบทนี้ มหาตุณฑิละ งดธรรมที่เหลือไวแสดงพระนิพพานเทานั้น เพราะพระผูมีพระภาคเจาตรัสไววา ดูกอนภิกษุทั้งหลาย ธรรมทั้งหลายมีปจจัย. ปรุงแตงก็ดีงาม ไมมีปจจัยปรุงแตงก็ตาม มี ประมาณเทาใด วิราคธรรมทานกลาววาล้ําเลิศกวาธรรมเหลานั้น ได แกธรรมใหสรางเมา. ปราศจากความหิวระหาย. ถอนอาลัยออกได ตัดวัฏฏะได เปนที่สิ้นตัณหา วิราคะ คือคลายกําหนัด นิโรธ คือดับ ตัณหาไมมีเหลือ นิพพาน คือดับกิเลสและทุกขหมด.

นัยวาพระโพธิสัตว เมื่อจะแสดงพระนิพพานนั้นนั่นแหละ จึงกลาวอยางนี้ ดวย อํานาจอุปนิสสัยปจจัยวา นองจุลตุณฑิละเอย เราเรียกสระคือพระนิพพานวา หวงน้ํา เพราะในพระนิพพานนั้นนั่นเอง ไมมีชาติ ชรา พยาธิ และมรณทุกขเปนตน แมวาหากจะมีผูประสงคจะพนจากมรณะ

 
  ความคิดเห็นที่ 9  
 
chatchai.k
วันที่ 28 พ.ค. 2564

พระสุตตันตปฎกขุททกนิกาย ชาดกเลม ๓ ภาค ๕ - หนาที่ 145

ก็จงเรียนขอปฏิบัติที่จะใหถึงพระนิพพาน.

บทวา ปาป เสทมล ความ วา นองจุลตุณฑิละเอย บัณฑิตในสมัยกอนทั้งหลายเรียกบาปวาเปน เหงื่อไคล เพราะเปนเชนกับเหงื่อไคล. ก็บาปนี้นั้นมีอยางเดียวคือ กิเลสเครื่องประทุษรายใจ บาปมี ๒ อยางคือ ศีลที่เลวทรามกับทิฏฐิที่ เลวทราม. บาปมี ๓ อยาง คือ ทุจริต ๓. บาปมี ๔ อยาง คือ การลุ อํานาจอคติ ๔ อยาง. บาปมี ๕ อยาง คือ สลักใจ ๕ อยาง. บาปมี ๖ อยาง คือ อคารวะ ๖ อยาง. บาปมี ๗ อยาง คือ อสัทธรรม ๗ ประการ. บาปมี ๘ อยาง คือ ความเปนผิด ๘ ประการ. บาปมี ๙ อยาง คือ เหตุเปนที่ตั้งแหงความอาฆาต ๙ อยาง. บาปมี ๑๐ อยาง คือ อกุศลธรรมบถ ๑๐. บาปมีมากอยาง คือ อกุศลธรรมทั้งหลายที่ทรงจําแนกออกไป โดยเปนธรรมหมวด ๑ หมวด ๒ และหมวด ๓ เปนตน อยางนี้ คือ ราคะ โทสะ โมหะ. บทวา ศีลไดแกศีล ๕ ศีล ๑๐ และ ปาริสุทธศีล ๔. นองเอย บัณฑิตทั้งหลาย เรียกศีลนี้วาเปนเสมือน เครื่องลูบไลใหม.

บทวา ตสฺส ความวา กลิ่นของศีลนั้น แตไหน แตไรมา ไมขาดหายไปในวัยทั้ง ๓ คือไมแผไปทั่วโลก. กลิ่นดอกไมจะไมหอมทวนลมไป กลิ่น จันทนกฤษณา หรือดอกมะลิก็ไมหอมทวนลม ไป แตกลิ่นของสัตบุรุษหอมทวนลมไป สัตบุรุษฟุงขจรไปทั่วทุกทิศ. กลิ่นศีลหอมยิ่งกวา คันธชาติเหลานี้ คือจันทนกฤษณะ ดอกอุบล

 
  ความคิดเห็นที่ 10  
 
chatchai.k
วันที่ 28 พ.ค. 2564

พระสุตตันตปฎกขุททกนิกาย ชาดกเลม ๓ ภาค ๕ - หนาที่ 146

หรือดอกมะลิ. เพราะกลิ่นกฤษณาและจันทน นี้หอมนอย สวนกลิ่นของผูมีศีลทั้งหลาย หอมมากฟุงขจรไปในเทวโลกและมนุษยโลก.

บทวา นนฺทนฺติ สรีรฆาติโน ความวานองจุลตุณฑิละเอย คน ผูไมมีความรูทั้งหลายเหลานี้ เมื่อทําปาณาติบาต จะเพลิดเพลินคือพอ ใจวา พวกเราจักกินเนื้ออรอยบาง จักใหลูกเมียกินบาง คือไมรูโทษ ของปาณาติบาตเปนตนนี้วา ปาณาติบาตที่ประพฤติจนชินอบรมมาทํา ใหมากแลว จะเปนเพื่อใหเกิดในนรก จะเปนไปเพื่อใหเกิดในกําเนิด เดียรัจฉาน ฯลฯ จะเปนไปเพื่อใหเกิดในเปรตวิสัย วิบากของปาณาติบาตที่เบากวาวิบากทั้งหมด จะเปนไปเพื่อใหผูเกิดเปนมนุษยมีอายุนอย ดังนี้ เมื่อไมรูก็จะเปนผูสําคัญบาปวาเปนน้ําผึ้ง ตามพระพุทธภาษิตวา :-

คนโงยอมสําคัญบาปวาเปนเหมือนน้ําผึ้ง ตลอดเวลาที่บาปยังไมใหผล แตเมื่อใดบาป ใหผล เมื่อนั้นคนโงก็จะเขาถึงทุกข. ไมรูแมเหตุมีประมาณเทานี้วา :- คนเขลา เบาปญญา เที่ยวทําบาปกรรม ซึ่งมีผลเผ็ดรอนดวยตนเอง ที่เปนเหมือนศัตรู กรรมที่มีผลเผ็ดรอน ทําใหคนมีน้ําตานองหนา

 
  ความคิดเห็นที่ 11  
 
chatchai.k
วันที่ 28 พ.ค. 2564

พระสุตตันตปฎกขุททกนิกาย ชาดกเลม ๓ ภาค ๕ - หนาที่ 147

รองไหไปพลางเสวยผลกรรมไปพลาง ทําแลว ไมดี.

บทวา น จนนฺทนฺติ สรีรธาริโน ความวา นองจุลตุณฑิละ เอย สัตวเหลานั้นใด ผูรักษาชีวิตสัตวไว ไมฆาสัตวเปนปกติ สัตว เหลานั้น เหลือ ตั้งตนแตพระโพธิสัตวไป เวนไวแตมฤคราชสีห ชาง อาชาไนย มาอาชาไนยและพระขีณาสพ เมื่อความตายมาถึงตน ชื่อวา ไมกลับไมมี สัตวทั้งหลายสะดุงตออาชญากันหมด เพราะชีวิตเปนที่รักของสัตวทั้งหลาย ฉะนั้น คนควรเอาตนเปนเครื่องเปรียบเทียบแลว ไม เบียดเบียน ไมฆากัน.

บทวา ปุณฺณาย ความวาเต็มดวยคุณคา

บทวา ปุณฺณมาสิยา ความวา เมื่อเดือนประกอบดวยจันทรเพ็ญ สถิตอยูเต็มดวงแลว. ได ทราบวา เมื่อนั้นเปนวันอุโบสถที่มีพระจันทรเต็มดวง

บทวา รมมานาว ชหนฺติ ชีวิต ความวา นองจุลตุณฑิละเอย เธออยาเศราโศก อยา รองไห ขึ้นชื่อวาความตายไมใชเฉพาะเราเทานั้น แมสัตวที่เหลือทั้ง หลายก็มีความตาย สัตวผูไมมีคุณมีศีลเปนตน อยูในภายในยอมจะกลัว แตพวกเราผูสมบูรณดวยศีลและอาจาระ เปนผูมีบุญ คือจะไมกลัว เพราะฉะนั้นสัตวที่เชนกับเรา จะยินดีสละชีวิตทีเดียว.

 
  ความคิดเห็นที่ 12  
 
chatchai.k
วันที่ 28 พ.ค. 2564

พระสุตตันตปฎกขุททกนิกาย ชาดกเลม ๓ ภาค ๕ - หนาที่ 148

มหาสัตวแสดงดวยเสียงอันไพเราะ ดวยพุทธลีลาอยางนี้แลว. ชุมนุมชนมีการปรบมือและการชูผาจํานวนพันเปนไปแลว. ทองฟาได เต็มไปดวยเสียงสาธุการ. พระเจาพาราณสี ทรงบูชาพระโพธิสัตวดวย ราชสมบัติ ประทานยศแกหญิงชรา ทรงรับเอาสุกรทั้ง ๒ ตัวไว ทรง ใหอาบดวยน้ําหอม ใหหมผา ใหไลทาดวยของหอมเปนตน ใหประดับ แกวมณีที่คอ แลวทรงนําเขาไปสูพระนคร สถาปนาไวในตําแหนง ราชบุตร ทรงประคับประคองดวยบริวารมาก. พระโพธิสัตวไดใหศีล ๕ แกขาราชบริพาร.

ชาวนครพาราณสีและชาวกาสิกรัฐพากันรักษาศีล ๕ ศีล ๑๐ ทุกคน. ฝายมหาสัตวไดแสดงธรรมแกชนเหลานั้นทุกวันปกษ นั่งในที่วินิจฉัยศาลพิจารณาคดี เมื่อมหาสัตวนั้นยังมีชีวิตอยู ขึ้นชื่อ วาการโกงไมมีแลว. ในกาลตอมาพระราชาสวรรคต. ฝายมหาสัตวใหประชาชนถวายพระเพลิงพระสรีระพระองค แลวใหจารึก คัมภีรวินิจฉัยคดีไวแลวบอกวา ทานทั้งหลายตองดูคัมภีรนี้พิจารณา คดี แลวแสดงธรรมแกมหาชน โอวาทดวยความไมประมาทแลวเขา ปาไปพรอมกับจุลตุณฑิละ ทั้ง ๆ ที่คนทั้งหมดพากันรองไหและคร่ําครวญ อยูนั่นเอง. โอวาทของพระโพธิสัตวครั้งนั้น เปนไปถึง ๖ หมื่นป. พระศาสดาครั้นทรงนําพระธรรมเทศนานี้มาแลว ทรงประกาศ สัจจะแลวทรงประชุมชาดกไว ในที่สุดแหงสัจจธรรมภิกษุผูกลัวตายนั้น ดํารงอยูแลวในโสดาปตติผล. พระราชาในครั้งนั้นไดแกพระอานนทใน

 
  ความคิดเห็นที่ 13  
 
chatchai.k
วันที่ 28 พ.ค. 2564

พระสุตตันตปฎกขุททกนิกาย ชาดกเลม ๓ ภาค ๕ - หนาที่ 149

บัดนี้ จุลตุณฑิละ ไดแกภิกษุผูกลัวตาย บริษัทไดแกพุทธบริษัท สวนมหาตุณฑิละ คือเราตถาคต ฉะนี้แล.

จบ อรรถกถาตุณฑิลชาดกที่ ๓

 
  ความคิดเห็นที่ 14  
 
chatchai.k
วันที่ 28 พ.ค. 2564

ขอเชิญรับฟัง...

ตุณฑิลชาดก

 
เขียนความคิดเห็น กรุณาเข้าระบบ