ประวัติพระรัฐปาลเถระ

 
chatchai.k
วันที่  29 พ.ค. 2564
หมายเลข  34310
อ่าน  697

[เล่มที่ 32] พระสุตตันตปิฎก อังคุตตรนิกาย เอกนิบาต เล่ม ๑ ภาค ๑ - หนาที่ 394

อรรถกถาสูตรที่ ๒

ประวัติพระรัฐปาลเถระ

ในสูตรที่ ๒ (เรื่องพระรัฐปาละ) พึงทราบวินิจฉัยดังตอไปนี้. บทวา สทฺธาปพฺพชิตาน แปลวา ผูบวชดวยศรัทธา. บทวา รฏปาโล ไดแกผูถึงการนับวา รัฐบาล แมเพราะอรรถวา เปนผู สามารถรักษารัฐไวได หรือผูเกิดในตระกูลที่สามารถสมานรัฐ ที่แตกราวกันไวได. จริงอยู ภิกษุรัฐปาละนั้น ฟงธรรมเทศนาของ พระศาสดา ไดศรัทธากระทําการอดขาวถึง ๔ วัน จึงใหมารดาบิดาอนุญาตใหบวชได จึงบวชแลว เพราะฉะนั้น ทานจึงเปนยอด ของเหลาภิกษุผูบวชดวยศรัทธา. ประวัติพระราหุลเถระ และพระรัฐปาลเถระ ก็ในปญหากรรมของพระเถระทั้งสองรูปนี้ มีเรื่องที่จะกลาว ตามลําดับดังตอไปนี้ :-

ไดยินมาวา ในอดีตกาล ครั้งพระปทุมุตตรพระพุทธเจา พระเถระทั้ง ๒ นี้ บังเกิดในครอบครัวคฤหบดีมหาศาลในกรุงหงสวดี ในเวลาที่ทานยังเปนเด็กไมมีใครพูดถึงชื่อและโคตร แต พอทานเจริญวัยแลว ดํารงอยูในฆราวาส เมื่อบิดาของแตละคนลวง ไปแลว ทานทั้ง ๒ จึงเรียกคนจัดการคลังรัตนะของตน ๆ มาแลว เห็นทรัพยหาประมาณมิได คิดวาชนทั้งหลายมีปูและปูทวดเปนตน พาเอากองทรัพยมีประมาณเทานี้ไปกับตนไมได บัดนี้ เราควร จะถือเอาทรัพยนี้ไปโดยอุบายอยางใดอยางหนึ่ง ดังนี้คนทั้ง ๒ นั้นจึงเริ่มใหมหาทานแกคนกําพราและคนเดินทางเปนตน ในสถานที่ ๔ แหง คนหนึ่งสอบถามคนที่มาแลวมาอีกในโรงทานของตน ผูใด ชอบใจสิ่งใดเปนตนวา ขาวยาคูและของเคี้ยวก็ใหสิ่งนั้นแกผูนั้น เพราะเหตุนั้นแล เขาจึงมีชื่อวา ผูกลาวกะผูที่มาแลว อีกคนหนึ่ง ไมถามเลย เอาภาชนะที่เขาถือมาแลว ๆ ใสใหเต็ม ๆ แลวจึงให ดวยเหตุนั้นแหละ เขาจึงมีชื่อวา ไมกลาวกะผูที่มาแลว อธิบายวา ถามดวยความไมประมาท วันหนึ่งชนทั้ง ๒ นั้นออกไปนอกบาน เพื่อลางปากแตเชาตรู.


  ความคิดเห็นที่ 1  
 
chatchai.k
วันที่ 29 พ.ค. 2564

พระสุตตันตปฎกอังคุตตรนิกายเอกนิบาต เลม ๑ ภาค ๑ - หนาที่ 396

สมัยนั้น ดาบสผูมีฤทธิ์มาก ๒ รูป เหาะมาแตปาหิมพานต เพื่อภิกขาจาร ลงไมไกลสหายทั้ง ๒ นั้น ยืนในที่ขางหนึ่งดวยคิดวา "ชนทั้ง ๒ นั้น เมื่อดาบสทั้ง ๒ นั้น จัดแจงบริขารมีภาชนะน้ําเตา เปนตน เดินมุงไปภายในบาน จึงมาไหวใกลๆ ครั้งนั้นดาบสกลาวกะ ชนทั้ง ๒ นั้นวา ทานผูมีบุญใหญ ทานมาในเวลาไร ชนทั้ง ๒ นั้น ตอบวา มาเดี๋ยวนี้ขอรับ แลวรับภาชนะน้ําเตาจากมือของดาบส ทั้ง ๒ นั้น นําไปเรือนของตน ๆ ในเวลาเสร็จภัตรกิจจึงขอใหรับ ปากวา จะมารับภิกษาเปนประจํา.

ในดาบสทั้งสองนั้น รูปหนึ่งเปนคนมักรอนจึงแหวกน้ํา ในมหาสมุทรออกเปน ๒ สวนดวยอานุภาพของตน แลวไปยังภพ ของปฐวินทรนาคราชนั่งพักกลางวัน. ดาบสถือเอาฤดูพอสบายแลว จึงกลับมา เมื่อจะกระทําอนุโมทนาภัตรในเรือนแหงอุปฎฐากของ ตน ก็กลาววา ขอจงสําเร็จเหมือนดังภพปฐวินทรนาคราช. ยอมา วันหนึ่ง อุปฏฐากถามดาบสนั้นวา ทานผูเจริญ ทานกระทําอนุโมทนา วา จงสําเร็จเหมือนภพปฐวินทรนาคราช โปรดบอกขอความ พวก ขาพเจาไมทราบความที่ทานกลาวนี้วา คํานี้ทานหมายความวา อะไร, ดาบสกลาววา จริงซิ กุฏมพี เรากลาววาสมบัติของทาน จงเปนเหมือนสมบัติของพระยานาคชื่อวา ปฐวินทร, ตั้งแตนั้นมา กุฏมพีก็ตั้งจิตไวในภพของพระยานาคชื่อวา ปฐวินทร. ดาบสอีกรูปหนึ่งไปยังภพดาวดึงส กระทําการพักกลางวัน ในเสริสกวิมานที่วางเปลา ดาบสนั้นเที่ยวไปเที่ยวมาเห็นสมบัติ ของทาวสักกเทวราช เมื่อจะการทําอนุโมทนาแกอุปฏฐากของตน

 
  ความคิดเห็นที่ 2  
 
chatchai.k
วันที่ 29 พ.ค. 2564

พระสุตตันตปฎกอังคุตตรนิกายเอกนิบาต เลม ๑ ภาค ๑ - หนาที่ 397

ก็กลาววาสมบัติของทานจงเปนเหมือนสักกวิมาน. ครั้งนั้น กุฎมพี ก็แมนั้นก็ถามดาบสนั้นเหมือนอยางสหายอีกคนหนึ่งถามดาบสนั้น กุฏมพีก็ฟงคําของดาบสนั้นจึงตั้งจิตไวในภพของทาวสักกะ. ชน ทั้งสองนั้นจึงบังเกิดในที่ที่ตนปรารถนาแลวนั้นแล.

ผูที่เกิดในภพของปฐวินทรนาคราช ก็มีชื่อวา ปฐวินทรนาคราชา พระราชานั้นในขณะที่ตนเกิดแลว เห็นอัตภาพของตนมีความ รอนใจวา ดาบสผูเขาสูสกุลสรรเสริญคุณแหงฐานะของเราไมนา พอใจหนอ ที่นี้เปนที่ตองเลื้อยไปดวยทอง ดาบสนั้นไมรูที่อื่น ๆ แนแท ในขณะนั้นนั่นแล เหลานาคผูฟอนรําแตงตัวแลวไดประคองเครื่อง ดนตรีในทุกทิศแกพระยานาคนั้น ในขณะนั้นนั่นแหละพระยานาค นั้นก็ละอัตภาพนั้นกลายเพศเปนมาณพนอย ทาวมหาราชทั้ง ๔ เขาเฝาทาวสักกะทุกกึ่งเดือน เพราะฉะนั้นแมพระยานาคนั้นก็ตอง ไปเฝาทาวสักกะพรอมกับพระยานาคชื่อวิรูปกษดวย ทาวสักกะ เห็นพระยานาคนั้นมาแตไกลก็จําได ทีนั้นทาวสักกะจึงถามพระยานาคนั้นในเวลายืนอยูในที่ใกลวา สหาย ทานไปเกิดที่ไหน พระยานาค กลาววา ทานมหาราช อยางถามเลย ขาพเจาไปเกิดในที่ที่ตอง เลื้อยไปดวยทอง สวนทานไดมิตรที่ดีแลว ทานสักกะตรัสวา สหาย ทานอยาวิตกเลยวาเกิดในที่ไมสมควร พระทศพลพระนามวา ปทุมุตตระทรงบังเกิดในโลกแลว ทานจงพระทํากุศลกรรมแด พระองคนั้นแลวปรารถนาฐานะนี้เถิด เราทั้ง ๒ จักอยูรวมกัน เปนสุข. พระยานาคนั้นกลาววา เทวะ ขาพเจา การทําอยางนั้น

 
  ความคิดเห็นที่ 3  
 
chatchai.k
วันที่ 29 พ.ค. 2564

พระสุตตันตปฎกอังคุตตรนิกายเอกนิบาต เลม ๑ ภาค ๑ - หนาที่ 398

ไปนิมนตพระปทุมุตตระทศพล จัดแจงเครื่องสักการะสัมมานะ ตลอดคืนยันรุงกับนาคบริษัทในภพนาคของตน วันรุงขึ้น เมื่อรุงอรุณ พระศาสดาตรัสเรียกพระสุมนเถระ ผูอุปฏฐากของพระองควา สุมนะ วันนี้ตถาคตจักไปภิกษาจาร ณ ที่ไกล ภิกษุปถุชนจงอยามา, จงมาแตพระผูบรรลุปฏิสัมภิทาผูทรง พระไตรปฎก ผูมีอภิญญ ๖ เทานั้น พระเถระสดับพระดํารัสของ พระศาสดาแลว แจงแกภิกษุทั้งปวง ภิกษุประมาณแสนหนึ่งเหาะ ไปพรอมกับพระศาสดา พระยานาคปฐวินทรกับนาคบริษัทมารับ เสด็จพระทศพลแลดูพระภิกษุสงฆที่ลอมพระศาสดาซึ่งกําลังเหยียบ คลื่นซึ่งมีสีดังแกวมณีบนยอดคลื่น แลเห็นพระศาสดาอยูเบื้องตน พระสงฆนวกะจนถึงสามเณรชื่ออุปเรวตะผูเปนโอรสของพระตถาคต อยูทาย จึงเกิดปติปราโมทยวา พุทธานุภาพเห็นปานนี้ ของพระสาวก ที่เหลือไมนาอัศจรรย แตพระพุทธานุภาพแหงทารกเล็กนี้ชางนา อัศจรรยเหลือเกินดังนี้.

ครั้งนั้น เมื่อพระทศพลประทับนั่งที่ภพของพระยานาคนั้น แลว เมื่อภิกษุนอกนี้นั่งจําเดิมแตที่สุดจนมาถึงอาสนะของสามเณร อุปเรวตะในที่เฉพาะพระพักตรของพระศาสดา พระยานาคเมื่อ ถวายขาวยาคูก็ดี เมื่อถวายของเคี้ยวก็ดี พระดูพระทศพลทีหนึ่ง ดูสามเณรอุปเรวตะทีหนึ่ง นับวามหาปุริสลักษณะ ๓๒ ประการ ในสรีระของสามเณรนั้นยอมปรากฏเสมือนพระพุทธเจา เปนอะไร กันหนอ ดังนี้จึงถามภิกษุรูปหนึ่งผูนั่งไมไกลวา ทานเจาขา สามเณร รูปนี้เปนอะไรกับพระทศพล ภิกษุนั้นตอบวา เปนโอรสมหาบพิธ.

 
  ความคิดเห็นที่ 4  
 
chatchai.k
วันที่ 29 พ.ค. 2564

พระสุตตันตปฎกอังคุตตรนิกายเอกนิบาต เลม ๑ ภาค ๑ - หนาที่ 399

พระองคจึงดําริวา ภิกษุรูปนี้ใหญหนอ จึงไดความเปนโอรสของ พระตถาคตผูสงางามเห็นปานนี้ แมสรีระของทานก็ปรากฏเสมือน พระสรีระของพระพุทธเจาโดยสวนเดียว แมตัวเราก็ควรเปน อยางนี้ในอนาคตกาล จึงถวายมหาทาน ๗ วัน แลวกระทําความ ปรารถนาวา พระเจาขา ขาพระองคพึงเปนโอรสของพระพุทธเจา พระองคหนึ่งในอนาคตเหมือนอุปเรวตะสามเณรนี้ ดวยอานุภาพ แหงกุศลกรรมนี้ พระศาสดาทรงเห็นวา หาอันตรายมิได จึงทรง พยากรณวา ในอนาคตมหาบพิตรจักเปนโอรสแหงพระพุทธเจา พระนามวาโคตมะ ดังนี้แลวเสด็จกลับไป.

สวนปฐวินทรนาคราช เมื่อถึงกึ่งเดือนอีกครั้งหนึ่งก็ไปเฝา ทาวสักกะกับพระยานาคชื่อวิรูปกษ คราวนั้นทาวสักกะตรัสถาม พระยานาคนั้นผูมายืนอยูในที่ใกลวา สหาย ทานปรารถนาเทวโลก นี้แลวหรือ ร. ขาพเจามิไดปรารถนาดอกเพื่อน ส. ทานเห็นโทษอะไร เลา ? ร. โทษไมมีมหาราช, แตขาพเจาเห็นสามเณรอุปเรวตะโอรส ของพระทศพล ตั้งแตขาพเจาไดเห็นสามเณรนั้นก็มิไดนอมจิตไป ในที่อื่น ขาพเจานั้นกระทําความปรารถนาวาในอนาคตกาล ขอ ขาพเจาพึงเปนโอรสเห็นปานนี้ของพระพุทธเจาพระองคหนึ่ง ขา แตมหาราช แมพระองคก็จงการทําความปรารถนาอยางหนึ่งเถิด เราทั้ง ๒ จักไมพรากกันในที่ ๆ เกิดแลว ทาวสักกะรับคําของ พระยานานั้นแลวเห็นภิกษุผูมีอานุภาพมากรูปหนึ่ง จึงนึกวา กุลบุตรนี้ออกบวชจากสกุลไหนหนอดังนี้ ทราบวากุลบุตรผูนี้เปน บุตรของสกุลผูสามารถสมานรัฐที่แตกแยกกันแลว กระทําการอด

 
  ความคิดเห็นที่ 5  
 
chatchai.k
วันที่ 29 พ.ค. 2564

พระสุตตันตปฎกอังคุตตรนิกายเอกนิบาต เลม ๑ ภาค ๑ - หนาที่ 400

อาหารถึง ๑๔ วัน ใหมารดาบิดาอนุญาตใหบรรพชาแลวบวช แลว ก็แลครั้นทราบแลวจึงเปนเหมือนไมทราบ ทูลถามพระทศพล แลวกระทํามหาสักการะ ๗ วัน กระทําความปรารถนาวา พระเจาขา ดวยผลแหงกัลยาณกรรมนี้ ขาพระองคพึงเปนยอดของเหลาภิกษุ ผูบวชดวยศรัทธาในศาสนาของพระพุทธเจาพระองคหนึ่งในอนาคต เหมือนอยางกุลบุตรผูนี้ในศาสนาของพระองคเถิด. พระศาสดา ทรงเห็นความปรารถนาหาอันตรายมิได จึงพยากรณวา มหาบพิตร พระองคจักเปนยอดของเหลาภิกษุผูบวชดวยศรัทธาในศาสนาของ พระพุทธเจาพระนามวา โคตมะ ในอนาคตแลวเสด็จกลับไป ฝาย ทาวสักกะก็เสด็จกลับไปยังเทพบุรีของพระองคตามเดิม. ชนทั้งสองนั้นจุติที่ที่ตนเกิดแลวเวียนวายอยูในเทวดา และมนุษยลวงไปหลายพันกัป ในที่สุดกัปที่ ๙๒ แตกัปนี้ พระพุทธเจา พระนามวา ผุสสะ ทรงอุบัติขึ้นในโลก พระพุทธบิดาของพระองค เปนพระราชาพระนามวา มหินทะ มีนองชายตางมารดากัน ๓ องค พระราชาทรงยึดถือวา พระพุทธเจาเปนของเราเทานั้น พระธรรม เปนของเรา พระสงฆเปนของเรา ทุก ๆ วันทรงใหพระทศพล เสวยโภชนะดวยพระองคเองเปนประจํา

ตอมาภายหลัง วันหนึ่งเมื่อชายแดนของพระองคกําเริบ พระองคตรัสเรียกโอรสมาสั่งวา ลูกเอย ชายแดนกําเริบ พวก เจาหรือเราควรไป ถาเราไปเจาจะตองปรนนิบัติพระทศพลโดย ทานองนี้ พระราชโอรสทั้ง ๓ นั้น ทูลเปนเสียงเดียวกันวา ขาแต พระชนก พระองคไมจําตองเสด็จไป พวกขาพระองคจักชวยกัน

 
  ความคิดเห็นที่ 6  
 
chatchai.k
วันที่ 29 พ.ค. 2564

พระสุตตันตปฎกอังคุตตรนิกายเอกนิบาต เลม ๑ ภาค ๑ - หนาที่ 401

ปราบโจรดังนี้ จึงถวายบังคมพระชนกแลวเสด็จไปยังปจจันตชนบท ปราบโจรแลวมีชัยชนะแกขาศึกแลวเสด็จกลับ พระราชกุมาร เหลานั้นปรึกษากับเหลาผูใกลชิดในระหวางทางวา พอเอยในเวลา ที่เรามาเฝาพระชนกจักประทานพร เราจะรับพรอะไร พวกขาบาท มูลิกาทูลวา พระลูกเจา เมื่อพระชนกของพระองคลวงลับไป ไมมี อะไรที่ชื่อวาไดยาก แตพระองคโปรดรับพรคือการปรนนิบัติ พระผุสสพุทธเจา ซึ่งเปนพระเชฏฐภาดาของพระองคเถิด พระราชกุมารเหลานั้นกลาววา พวกทานพูดดีจึงพรอมใจกันทุก ๆ องค ไปเฝาพระชนก ในกาลนั้น พระชนกทรงเลื่อมใสพระราชกุมาร เหลานั้น แลวทรงประทานพร พระราชกุมารเหลานั้นทูลขอพรวา พวกขาพระองคจักปรนนิบัติพระตถาคตตลอดไตรมาส พระราชา ตรัสวา พรนี้เราใหไมได จงขอพรอยางอื่นเถิด พระราชกุมาร กราบทูลวา ขาแตพระชนก พวกเขาพระองคก็ไมตองการพรอยางอื่น ถาหากพระองคประสงคจะพระราชทาน ขอจงพระราชทานพรนั้น นั่นแหละแกพวกขาพระองคเถิด พระราชาเมื่อพระราชโอรส เหลานั้นทูลขออยูบอย ๆ ทรงดําริวา เราไมใหไมได เพราะเราได ปฏิญญาไวแลวจึงตรัสวา พอเอย เราใหพรแกพวกเจา ก็แตวา ธรรมดาพระพุทธเจาเปนผูอันใคร ๆ เขาเฝาไดยาก เปนผูมีปกติ เที่ยวไปพระองคเดียวดุจสีหะ พวกเจาจงเปนผูไมประมาทปรนนิบัติ พระทศพลเถิด.

พระราชกุมารเหลานั้นดําริวา เมื่อพวกเราจะปรนนิบัติ พระตถาคต ก็ควรจะปรนนิบัติใหสมควร จึงพรอมใจกันสมาทานศีล

 
  ความคิดเห็นที่ 7  
 
chatchai.k
วันที่ 29 พ.ค. 2564

พระสุตตันตปฎกอังคุตตรนิกายเอกนิบาต เลม ๑ ภาค ๑ - หนาที่ 402

๑๐ เปนผูไมมีกลิ่นคาว ตั้งบุรุษไว๓ คนใหดูแลโรงทานสําหรับ พระศาสดา บรรดาบุรุษ คนนั้น คนหนึ่งเปนผูจัดแจงการเงิน และขาวปลาอาหาร. คนหนึ่งมีหนาที่ตวงขาว คนหนึ่งมีหนาที่จัดทาน. ในบุรุษ ๓ คนนั้น คนจัดแจงการเงินและขาวมาเถิดเปนพระเจา พิมพิสารมหาราชในปจจุบัน คนตวงขาวมาเกิดเปนวิสาขอุบาสก, คนจัดทานมาเกิดเปนรัฐปาลเถระแล. กุลบุตรนั้นบําเพ็ญกุศลในภพ นั้นตลอดชีพแลวบังเกิดในเทวโลก. สวนพระยานาคนี้เกิดเปน พระเชฏฐโอรสของพระเจากิกิ ครั้งพระที่พลพระนามวากัสสป ชื่อวาราหุลเถระ พระญาติทั้งหลายขนานนามพระองควา ปฐวินทรกุมาร พระองคมีภคินี ๗ พระองค พระภคินีเหลานั้นสรางบริเวณ ถวายพระทศพลถึง ๗ แหง พระปฐวินทรกุมารทรงไดตําแหนง อุปราช พระองคตรัสกะภคินีเหลานั้นวา ในบรรดาบริเวณที่พระนาง ไดสรางไวนั้น ขอจงประทานใหหมอมฉันแหงหนึ่ง พระภคินีเหลานั้น ทูลวา พระพี่เจา พระองคดํารงอยูในฐานะเปนอุปราช พระองค พึงประทานแกหมอมฉันตางหาก พระองคโปรดสรางบริเวณอื่นเถิด พระราชกุมารนั้นไดสดับคําของพระภคินีเหลานั้นแลว จึงใหสราง วิหารถึง ๕๐๐ แหง. อาจารยบางพวกกลาววา บริเวณ ๕๐๐ แหง ก็มี พระราชกุมารนั้นทรงบําเพ็ญกุศลตลอดชีพในอัตภาพนั้นไป บังเกิดในเทวโลก ในพุทธุบาทกาลนี้ ปฐวินทรกุมารถือปฏิสนธิ ในพระครรภแหงพระอัครมเหษีแหงพระโพธิสัตวของเรา สหาย ของทานบังเกิดในเรือนแหงรัฐปาลเศรษฐี ในถุลลโกฏฐิตนิคม แควนกุรุ.

ครั้งนั้น พระทศพลของเราทรงบรรลุอภิสัมโพธิญาณแลว

 
  ความคิดเห็นที่ 8  
 
chatchai.k
วันที่ 29 พ.ค. 2564

พระสุตตันตปฎกอังคุตตรนิกายเอกนิบาต เลม ๑ ภาค ๑ - หนาที่ 403

ทรงประกาศธรรมจักรอันประเสริฐแลวเสด็จมายังกรุงกบิลพัสดุ โดยลําดับ ทรงใหราหุลกุมารบรรพชาแลว. วิธีบรรพชาราหุลกุมาร นั้น มาแลวในพระบาลี. ก็พระศาสดาไดตรัสราหุโลวาทสูตร เปน โอวาทเนือง ๆ แกพระราหุลนั้นผูบรรพชาแลวอยางนี้ แมพระราหุลลุกขึ้นแตเชาตรู เอามือกอบทรายขึ้นกลาววา วันนี้เราพึง ไดโอวาทมีประมาณเทานี้จากพระทศพล และอุปชฌายอาจารย ทั้งหลาย เกิดการสนทนากันในทามกลางสงฆวา ราหุลสามเณร ทนตอพระโอวาทหนอ เปนโอรสที่คูควรแกพระชนก" พระศาสดา ทรงจิตวาระแหงภิกษุทั้งหลาย ทรงพระดําริวา เมื่อเราไปแลว ธรรมเทศนาอยางหนึ่งจักขยาย และคุณของราหุลจักปรากฏ จึง เสด็จไปประทับนั่งเหนือพุทธอาสนในธรรมสภา ตรัสเรียกภิกษุ ทั้งหลายวา ดูกอนภิกษุทั้งหลาย พวกเธอนั่งประชุมสนทนากัน ดวยเรื่องอะไรหนอ ภิกษุทั้งหลายกราบทูลวา ขาแตพระผูมีพระภาค เจา พวกขาพระองคสนทนากันถึงความที่ราหุลสามเณรเปน ผูอดทนตอโอวาทพระเจาขา พระศาสดาทรงดํารงอยูในฐานะ นี้เพื่อทรงแสดงถึงคุณของราหุลสามเณร จึงทรงนํามิคชาดก มาตรัสวา.-

"มิคนฺคิปลฺลตฺถมเนกมาย อฏกฺขร อฑฺฒรตฺตาวปายึ เอเกน โสเตน ฉมาสฺสสนฺโต ฉทิ กลาหีติ โภ ภาคิเนยฺโย ติ" ฉันยังเนื้อหลานชายผูมี ๘ กีบ นอนโดยอาการ ๓ ทา มีมารยาหลายอยาง ดื่มกินน้ําในเวลา

 
  ความคิดเห็นที่ 9  
 
chatchai.k
วันที่ 29 พ.ค. 2564

พระสุตตันตปฎกอังคุตตรนิกายเอกนิบาต เลม ๑ ภาค ๑ - หนาที่ 404

เที่ยงคืน ใหเลาเรียนมายาของเนื้อดีแลว ดูกอน นองหญิง เนื้อหลานชายกลั้นลมหายใจไวได โดย ชองโสตขางหนึ่ง แนบติดอยูกับพื้น จะทํากลลวง นายพรานดวยอุบาย ๖ ประการ.

ตอมา ในเวลาที่สามเณรมีอายุ ๗ พรรษา ทรงแสดง อัมพลัฏฐิยราหุโลวาทแกราหุลสามเณรนั้นวา ราหุลอยากลาว สัมปชานมุสา แมเพื่อจะเลนโดยความเปนเด็กเลย ดังนี้เปนตน ในเวลาที่สามเณรมีอายุ ๑๘ พรรษา ตรัสมหาราหุโลวาทสูตร โดยนัยวา "ราหุล รูปอยางใดอยางหนึ่ง" ดังนี้เปนตน แกราหุล ผูเขาไปบิณฑบาตตามหลังของพระตถาคต มองดูรูปสมบัติของ พระศาสดาและของตน ตรึกวิตกที่เนื่องดวยครอบครัว สวนราหุโลวาท ในสังยุตก็ดี ราหุโลวาทในอังคุตตรนิกายก็ดี เปนอาจารยแหง วิปสสนาของพระเถระทั้งนั้น.

ภายหลังพระศาสดาทรงทราบวาญาณของทานแกกลา ในเวลาที่ราหุลเปนภิกษุยังไมมีพรรษาประทับนั่งที่อันธวันตรัส จุลลราหุโลวาทสูตรแลว เวลาจบเทศนา พระราหุลเถระบรรลุ พระอรหัตพรอมกับเทวดาแสนพันโกฏิ เทวดาที่เปนพระโสดาบัน พระสกทาคามีและพระอนาคามีนับไมถวน. ยอมาภายหลังพระศาสดาทรงประทับนั่งทามกลางพระอริยสงฆ ทรงสถาปนาพระเถระ ในตําแหนงเปนยอดของเหลาภิกษุผูใครตอการศึกษาในศาสนานี้.

 
  ความคิดเห็นที่ 10  
 
chatchai.k
วันที่ 29 พ.ค. 2564

พระสุตตันตปฎกอังคุตตรนิกายเอกนิบาต เลม ๑ ภาค ๑ - หนาที่ 405

ก็เมื่อพระศาสดาทรงเสด็จออกจาริกไปในกุรุรัฐ ทรงบรรลุ ถึงถุลลโกฏฐิตนิคมโดยลําดับ กุลบุตรชื่อรัฐปาลฟงพระธรรมเทศนา ของพระศาสดา ไดศรัทธาใหมารดาบิดาอนุญาตแลว เขาเฝา พระทศพล บวชแลวในสํานักของพระเถระรูปหนึ่ง ตามพระบัญชา ของพระศาสดาตั้งแตวันที่ทานบวชแลว เศรษฐีคหบดีเห็นภิกษุ ทั้งหลายไปยังที่ประตูนิเวศนของตนยอมดาบริภาษาวา มีงานอะไร ของทานในเรือนนี้ (เรา) มีบุตรนอยคนเดียวเทานั้น พวกทานก็ มานําเขาไปเสีย บัดนี้จะทําอะไรอีกละ. พระศาสดาประทับอยูที่ ถุลลโกฏฐิคามกึ่งเดือนแลวเสด็จมายังกรุงสาวัตถีอีก. ครั้งนั้น พระรัฐปาลกระทํากิจในโยนิโสมนสิการ เจริญวิปสสนาบรรลุ พระอรหัตแลว ทานทูลขออนุญาตพระศาสดาแลวไปยังถุลลโกฏฐิตนิคมเพื่อเยี่ยมบิดามารดา เที่ยวบิณฑบาตไปตามลําดับตรอกใน นิคมนั้น ไดขนมกุมมาสบูดที่คางคืนในนิเวศนของบิดา เกิดอสุภสัญญาในเหลาหญิงที่แตงตัวแลวจึงยืนขึ้นแสดงธรรม เหาะไปแลว ประดุจศรเพลิงที่พนแลวจากแลง ไปยังมิคาจิรอุทยานของพระเจา โกรพย ลงนั่งแผนศิลาอันเปนมงคล แสดงธรรมอันประดับแลว ดวยความเลื่อมใส ๔ ประการแดพระราชาผูเสด็จมาเยี่ยม จาริก ไปโดยลําดับกลับมาเฝาพระศาสดาอีก. เรื่องนี้ตั้งขึ้นแลวดวย อาการอยางนี้.

ตอมาภายหลังพระศาสดาประทับนั่งทามกลาง พระอริยสงฆ ทรงสถาปนาพระเถระไวในตําแหนงเปนยอดของเหลา กุลบุตรผูบวชดวยศรัทธาในศาสนานี้แล.

จบ อรรถกถาสูตรที่๒

 
  ความคิดเห็นที่ 11  
 
chatchai.k
วันที่ 29 พ.ค. 2564

ขอนอบน้อมแด่พระผู้มีพระภาคอรหันตสัมมาสัมพุทธเจ้าพระองค์นั้น

 
เขียนความคิดเห็น กรุณาเข้าระบบ