พระไตรปิฎกและอรรถกถาแปล ฉบับมหามกุฏราชวิทยาลัย

[เล่มที่ 30] พระสุตตันตปิฎก สังยุตตนิกาย มหาวารวรรค เล่ม ๕ ภาค ๑

 
บ้านธัมมะ
วันที่  29 ส.ค. 2564
หมายเลข  36304
อ่าน  869

[เล่มที่ 30] พระสุตตันตปิฎก สังยุตตนิกาย มหาวารวรรค เล่ม ๕ ภาค ๑

ขอนอบน้อมแด่พระผู้มีพระภาคอรหันตสัมมาสัมพุทธเจ้าพระองค์นั้น


  ข้อความที่ 2  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 5 ต.ค. 2564
 
  ข้อความที่ 4  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 5 ต.ค. 2564
 
  ข้อความที่ 6  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 6 ต.ค. 2564

สุริยเปยยาลที่ ๖

๑. ปฐมกัลยาณมิตตสูตร มิตรดีเป็นนิมิตแห่งอริยมรรค

๒. ปฐมสีลสัมปทาสูตร สีลสัมปทา เป็นนิมิต แห่งอริยมรรค

๓. ปฐมฉันทสัมปทาสูตร ฉันทสัมปทาเป็นนิมิตแห่งอริยมรรค

๔. ปฐมอัตตสัมปทาสูตร อัตตสัมปทาเป็นนิมิตแห่งอริยมรรค

๕. ปฐมทิฏฐิสัมปทาสูตร ทิฏฐิสัมปทาเป็นนิมิตแห่งอริยมรรค

๖. ปฐมอัปปมาทสัมปทาสูตร ความไม่ประมาทเป็นนิมิตแห่งอริยมรรค

๗. ปฐมโยนิโสมนสิการสัมปทาสูตร โยนิโสมนสิการเป็นนิมิตแห่งอริยมรรค

๘. ทุติยกัลยาณมิตตสูตร มิตรดีเป็นนิมิตแห่งอริยมรรค

๙. ทุติยสีลสัมปทาสูตร สีลสัมปทาเป็นนิมิตแห่งอริยมรรค

๑๐. ทุติยฉันทสัมปทาสูตร ฉันทสัมปทาเป็นนิมิตแห่งอริยมรรค

๑๑. ทุติยอัตตสัมปทาสูตร อัตตสัมปทาเป็นนิมิตแห่งอริยมรรค

๑๒. ทุติยทิฏฐิสัมปทาสูตร ทิฏฐิสัมปทาเป็นนิมิตแห่งอริยมรรค

๑๓. ทุติยอัปปมาทสัมปทาสูตร ความไม่ประมาทเป็นนิมิตแห่งอริยมรรค

๑๔. ทุติยโยนิโสมนสิการสัมปทาสูตร โยนิโสมนสิการเป็นนิมิตแห่งอริยมรรค

 
  ข้อความที่ 7  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 6 ต.ค. 2564

เอกธรรมเปยยาลที่ ๗

๑. ปฐมกัลยาณมิตตสูตร กัลยาณมิตรมีอุปการะมากแก่อริยมรรค

๒. ปฐมสีลสัมปทาสูตร สีลสัมปทามีอุปการะมากแก่อริยมรรค

๓. ปฐมฉันทสัมปทาสูตร ฉันทสัมปทามีอุปการะมากแก่อริยมรรค

๔. ปฐมอัตตสัมปทาสูตร อัตตสัมปทามีอุปการะมากแก่อริยมรรค

๕. ปฐมทิฏฐิสัมปทาสูตร ทิฏฐิสัมปทามีอุปการะมากแก่อริยมรรค

๖. ปฐมอัปปมาทสูตร ความไม่ประมาทมีอุปการะมากแก่อริยมรรค

๗. ปฐมโยนิโสมนสิการสัมปทาสูตร โยนิโสมนสิการมีอุปการะมากแก่อริยมรรค

๘. ทุติยกัลยาณมิตตสูตร กัลยาณมิตรมีอุปการะมากแก่อริยมรรค

๙. ทุติยสีลสัมปทาสูตร สีลสัมปทามีอุปการะมากแก่อริยมรรค

๑๐. ทุติยฉันทสัมปทาสูตร ฉันทสัมปทามีอุปการะมากแก่อริยมรรค

๑๑. ทุติยอัตตสัมปทาสูตร อัตตสัมปทามีอุปการะมากแก่อริยมรรค

๑๒. ทุติยทิฏฐิสัมปทาสูตร ทิฏฐิสัมปทามีอุปการะมากแก่อริยมรรค

๑๓. ทุติยอัปปมาทสัมปทาสูตร ความไม่ประมาทมีอุปการะมากแก่อริยมรรค

๑๔. ทุติยโยนิโสมนสิการสัมปทาสูตร โยนิโสมนสิการมีอุปการะมากแก่อริยมรรค

 
  ข้อความที่ 8  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 6 ต.ค. 2564

นาหันตเอกธรรมเปยยาลที่ ๘

๑. ปฐมกัลยาณมิตตสูตร กัลยาณมิตรเป็นเหตุให้เกิดอริยมรรค

๒. ปฐมสีลสัมปทาสูตร สีลสัมปทาเป็นเหตุให้เกิดอริยมรรค

๓. ปฐมฉันทสัมปทาสูตร ฉันทสัมปทาเป็นเหตุให้เกิดอริยมรรค

๔. ปฐมอัตตสัมปทาสูตร อัตตสัมปทาเป็นเหตุให้เกิดอริยมรรค

๕. ปฐมทิฏฐิสัมปทาสูตร ทิฏฐิสัมปทาเป็นเหตุให้เกิดอริยมรรค

๖. ปฐมอัปปมาทสัมปทาสูตร อัปปมาทสัมปทาเป็นเหตุให้เกิดอริยมรรค

๗. ปฐมโยนิโสมนสิการสัมปทาสูตร โยนิโสมนสิการเป็นเหตุให้เกิดอริยมรรค

๘. ทุติยกัลยาณมิตตสูตร กัลยาณมิตรเป็นเหตุให้เกิดอริยมรรค

๙. ทุติยสีลสัมปทาสูตร สีลสัมปทาเป็นเหตุให้เกิดอริยมรรค

๑๐. ทุติยฉันทสัมปทาสูตร ฉันทสัมปทาเป็นเหตุให้เกิดอริยมรรค

๑๑. ทุติยอัตตสัมปทาสูตร อัตตสัมปทาเป็นเหตุให้เกิดอริยมรรค

๑๒. ทุติยทิฏฐิสัมปทาสูตร ทิฏฐิสัมปทาเป็นเหตุให้เกิดอริยมรรค

๑๓. ทุติยอัปปมาทสัมปทาสูตร อัปปมาทสัมปทาเป็นเหตุให้เกิดอริยมรรค

๑๔. ทุติยโยนิโสมนสิการสัมปทาสูตร โยนิโสมสิการเป็นเหตุให้เกิดอริยมรรค

 
  ข้อความที่ 9  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 7 ต.ค. 2564

คังคาเปยยาลที่ ๙

๑. คังคาปาจีนนินนสูตร ผู้เจริญอริยมรรคเป็นผู้น้อมไปสู่นิพพาน

๒. ยมุนาปาจีนนินนสูตร ผู้เจริญอริยมรรค ฯลฯ เหมือนแม่น้ํายมุนาไหลไปสู่ทิศปราจีน

๓. อจิรวดีปาจีนนินนสูตร ผู้เจริญอริยมรรค ฯลฯ เหมือนแม่น้ําอจิรวดีไหลไปสู่ทิศปราจีน

๔. สรภูปาจีนนินนสูตร ผู้เจริญอริยมรรค ฯลฯ เหมือนแม่น้ําสรภูไหลไปสู่ทิศปราจีน

๕. มหีปาจีนนินนสูตร ผู้เจริญอริยมรรค ฯลฯ เหมือนแม่น้ํามหีไหลไปสู่ทิศปราจีน

๖. มหานทีปาจีนนินนสูตร ผู้เจริญอริยมรรค ฯลฯ เหมือนแม่น้ําใหญ่ไหลไปสู่ทิศปราจีน

๗. คังคาสมุททนินนสูตร ผู้เจริญอริยมรรค ฯลฯ เหมือนแม่น้ําคงคาไหลไปสู่สมุทร

๘. ยมุนาสมุททนินนสูตร ผู้เจริญอริยมรรค ฯลฯ เหมือนแม่น้ํายมุนาไหลไปสู่สมุทร

๙. อจิรวดีสมุททนินนสูตร ผู้เจริญอริยมรรค ฯลฯ เหมือนแม่น้ําอจิรวดีไหลไปสู่สมุทร

๑๐. สรภูสมุททนินนสูตร ผู้เจริญอริยมรรค ฯลฯ เหมือนแม่น้ําสรภูไหลไปสู่สมุทร

๑๑. มหีสมุททนินนสูตร ผู้เจริญอริยมรรค ฯลฯ เหมือนแม่น้ําสรภูไหลไปสู่สมุทร

๑๒. มหานทีสมุททนินนสูตร ผู้เจริญอริยมรรค ฯลฯ เหมือนแม่น้ําใหญ่ไหลไปสู่สมุทร

จบหมวดที่ ๑


๑. คังคาปาจีนนินนสูตร ผู้เจริญอริยมรรค ฯลฯ เหมือนแม่น้ําคงคาไหลไปสู่ทิศปราจีน

๒. ยมุนาปาจีนนินนสูตร ผู้เจริญอริยมรรค ฯลฯ เหมือนแม่น้ํายมุนาไหลไปสู่ทิศปราจีน

๓. อจิรวดีปาจีนนินนสูตร ผู้เจริญอริยมรรค ฯลฯ เหมือนแม่น้ําอจิรวดีไหลไปสู่ทิศปราจีน

๔. สรภูปาจีนนินนสูตร ผู้เจริญอริยมรรค ฯลฯ เหมือนแม่น้ําสรภูไหลไปสู่ทิศปราจีน

๕. มหีปาจีนนินนสูตร ผู้เจริญอริยมรรค ฯลฯ เหมือนแม่น้ํามหีไหลไปสู่ทิศปราจีน

๖. มหานทีปาจีนนินนสูตร ผู้เจริญอริยมรรค ฯลฯ เหมือนแม่น้ําใหญ่ไหลไปสู่ทิศปราจีน

๗. คังคาสมุททนินนสูตร ผู้เจริญอริยมรรค ฯลฯ เหมือนแม่น้ําคงคาไหลไปสู่สมุทร

๘. ยมุนาสมุททนินนสูตร ผู้เจริญอริยมรรค ฯลฯ เหมือนแม่น้ํายมุนาไหลไปสู่สมุทร

๙. อจิรวดีสมุททนินนสูตร ผู้เจริญอริยมรรค ฯลฯ เหมือนแม่น้ําอจิรวดีไหลไปสู่สมุทร

๑๐. สรภูสมุททนินนสูตร ผู้เจริญอริยมรรค ฯลฯ เหมือนแม่น้ําสรภูไหลไปสู่สมุทร

๑๑. มหีสมุททนินนสูตร ผู้เจริญอริยมรรค ฯลฯ เหมือนแม่น้ํามหีไหลไปสู่สมุทร

๑๒. มหานทีสมุททนินนสูตร ผู้เจริญอริยมรรค ฯลฯ เหมือนแม่น้ําใหญ่ไหลไปสู่สมุทร

จบหมวดที่ ๒


๑. คังคาปาจีนนินนสูตร ผู้เจริญอริยมรรค ฯลฯ เหมือนแม่น้ําคงคาไหลไปสู่ทิศปราจีน

๒. ยมุนาปาจีนนินนสูตร ผู้เจริญอริยมรรค ฯลฯ เหมือนแม่น้ํายมุนาไหลไปสู่ทิศปราจีน

๓. อจิรวดีปาจีนนินนสูตร ผู้เจริญอริยมรรค ฯลฯ เหมือนแม่น้ําอจิรวดีไหลไปสู่ทิศปราจีน

๔. สรภูปาจีนนินนสูตร ผู้เจริญอริยมรรค ฯลฯ เหมือนแม่น้ําสรภูไหลไปสู่ทิศปราจีน

๕. มหีปาจีนนินนสูตร ผู้เจริญอริยมรรค ฯลฯ เหมือนแม่น้ํามหีไหลไปสู่ทิศปราจีน

๖. มหานทีปาจีนนินนสูตร ผู้เจริญอริยมรรค ฯลฯ เหมือนแม่น้ําใหญ่ไปสู่ทิศปราจีน

๗. คังคาสมุททนินนสูตร ผู้เจริญอริยมรรค ฯลฯ เหมือนแม่น้ําคงคาไหลไปสู่สมุทร

๘. ยมุนาสมุททนินนสูตร ผู้เจริญอริยมรรค ฯลฯ เหมือนแม่น้ํายมุนาไหลไปสู่สมุทร

๙. อจิรวดีสมุททนินนสูตร ผู้เจริญอริยมรรค ฯลฯ เหมือนแม่น้ําอจิรวดีไหลไปสู่สมุทร

๑๐. สรภูสมุททนินนสูตร ผู้เจริญอริยมรรค ฯลฯ เหมือนแม่น้ําสรภูไหลไปสู่สมุทร

๑๑. มหีสมุททนินนสูตร ผู้เจริญอริยมรรค ฯลฯ เหมือนแม่น้ํามหีไหลไปสู่สมุทร

๑๒. มหานทีสมุททนินนสูตร ผู้เจริญอริยมรรค ฯลฯ เหมือนมหานทีไหลไปสู่สมุทร

จบหมวดที่ ๓


๑. คังคาปาจีนนินนสูตร ผู้เจริญอริยมรรค ฯลฯ เหมือนแม่น้ําคงคาไหลไปสู่ทิศปราจีน

๒. ยมุนาปาจีนนินนสูตร ผู้เจริญอริยมรรค ฯลฯ เหมือนแม่น้ํายมุนาไหลไปสู่ทิศปราจีน

๓. อจิรวดีปาจีนนินนสูตร ผู้เจริญอริยมรรค ฯลฯ เหมือนแม่น้ําอจิรวดีไหลไปสู่ทิศปราจีน

๔. สรภูปาจีนนินนสูตร ผู้เจริญอริยมรรค ฯลฯ เหมือนแม่น้ําสรภูไหลไปสู่ทิศปราจีน

๕. มหีปาจีนนินนสูตร ผู้เจริญอริยมรรค ฯลฯ เหมือนแม่น้ํามหีไหลไปสู่ทิศปราจีน

๖. มหานทีปาจีนนินนสูตร ผู้เจริญอริยมรรค ฯลฯ เหมือนมหานทีไหลไปสู่ทิศปราจีน

๗. คังคาสมุททนินนสูตร ผู้เจริญอริยมรรค ฯลฯ เหมือนแม่น้ําคงคาไหลไปสู่สมุทร

๘. ยมุนาสมุททนินนสูตร ผู้เจริญอริยมรรค ฯลฯ เหมือนแม่น้ํายมุนาไหลไปสู่สมุทร

๙. อจิรวดีสมุททนินนสูตร ผู้เจริญอริยมรรค ฯลฯ เหมือนแม่น้ําอจิวดีไหลไปสู่สมุทร

๑๐. สรภูสมุททนินนสูตร ผู้เจริญอริยมรรค ฯลฯ เหมือนแม่น้ําสรภูไหลไปสู่สมุทร

๑๑. มหีสมุททนินนสูตร ผู้เจริญอริยมรรค ฯลฯ เหมือนแม่น้ํามหีไหลไปสู่สมุทร

๑๒. มหานทีสมุททนินนสูตร ผู้เจริญอริยมรรค ฯลฯ เหมือนแม่น้ําใหญ่ไหลไปสู่สมุทร

จบหมวดที่ ๔

จบคังคาเปยยาลที่ ๙

 
  ข้อความที่ 10  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 7 ต.ค. 2564

อัปปมาทวรรคที่ ๑๐

๑. ปฐมตถาคตสูตร ผู้เจริญอริยมรรคน้อมไปในการสละ

๒. ทุติยตถาคตสูตร ผู้เจริญอริยมรรคมีการกําจัดราคะเป็นที่สุด

๓. ตติยตถาคตสูตร ผู้เจริญอริยมรรคอันหยั่งลงสู่อมตะ

๔. จตุตถตถาคตสูตร ความไม่ประมาทเลิศกว่ากุศลธรรม

๕. ปทสูตร กุศลธรรมทั้งปวงมีความไม่ประมาทเป็นมูล

๖. กูฏสูตร ว่าด้วยเรือนยอด

๗. มูลคันธสูตร ว่าด้วยกลิ่นที่ราก

๘. สารคันธสูตร ว่าด้วยกลิ่นที่แก่น

๙. ปุปผคันธสูตร ว่าด้วยกลิ่นที่ดอก

๑๐. กุฏฐราชสูตร ว่าด้วยพระราชาผู้เลิศ

๑๑. จันทิมสูตร ว่าด้วยพระจันทร์

๑๒. สุริยสูตร ว่าด้วยพระอาทิตย์

๑๓. วัตถสูตร ว่าด้วยผ้า

อรรถกถาแห่งอัปปมาทเปยยาล

 
  ข้อความที่ 11  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 7 ต.ค. 2564

พลกรณียวรรคที่ ๑๑

๑. ปฐมพลกรณียสูตร อาศัยศีล เจริญอริยมรรคน้อมไปในการสละ

๒. ทุติยพลกรณียสูตร อาศัยศีล เจริญอริยมรรคมีการกำจัดราคะ

๓. ตติยพลกรณียสูตร อาศัยศีล เจริญอริยมรรคอันหยั่งลงสู่อมตะ

๔. จตุตถพลกรณียสูตร อาศัยศีล เจริญอริยมรรคน้อมไปสู่นิพพาน

๕. พีชสูตร ผู้อาศัยศีล เจริญอริยมรรค เหมือนพืชอาศัยแผ่นดิน

๖. นาคสูตร ผู้อาศัยศีลเจริญอริยมรรคเหมือนนาคอาศัยขุนเขา

๗. รุกขสูตร ผู้เจริญอริยมรรคน้อมไปสู่นิพพาน เหมือนต้นไม้ล้มลงทางที่โอน

๘. กุมภสูตร ผู้เจริญอริยมรรคย่อมระบายอกุศลธรรม

๙. สุกกสูตร ทิฏฐิที่ตั้งไว้ชอบย่อมทํางายอวิชชา

๑๐. อากาสสูตร ผู้เจริญอริยมรรคย่อมทําสติปัฏฐานให้บริบูรณ์

๑๑. ปฐมเมฆสูตร ผู้เจริญอริยมรรคทําอกุศลธรรมให้สงบโดยพลัน

๑๒. ทุติยเมฆสูตร ผู้เจริญอริยมรรคทําอกุศลธรรมให้สงบให้ระหว่างโดยพลัน

๑๓. นาวาสูตร ผู้เจริญอริยมรรคทําให้สังโยชน์สงบหมดไป

๑๔. อาคันตุกาคารสูตร ธรรมที่ควรกําหนดรู้ ควรละ ควรทําให้แจ้ง ควรทําให้เจริญ

๑๕. นทีสูตร ไม่มีผู้สามารถให้ผู้เจริญอริยมรรคกลับเป็นคนเลวได้

 
  ข้อความที่ 15  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 8 ต.ค. 2564
 
  ข้อความที่ 16  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 9 ต.ค. 2564

อุทายิวรรคที่ ๓

๑. โพธนสูตร เรียกว่าโพชฌงค์เพราะเป็นเพื่อตรัสรู้

๒. เทสนาสูตร โพชฌงค์ ๗

๓. ฐานิยสูตร นิวรณ์ ๕ เกิดเพราะมนสิการถึงธรรมที่เป็นที่ตั้งแห่งนิวรณ์

๔. อโยนิโสสูตร นิวรณ์ ๕ เกิดเพราะมนสิการโดยไม่แยบคาย

๕. อปริหานิยสูตร ธรรมอันไม่เป็นที่ตั้งแห่งความเสื่อม ๗

๖. ขยสูตร ปฏิปทาที่เป็นไปเพื่อสิ้นตัณหาคือโพชฌงค์ ๗

๗. นิโรธสูตร ปฏิปทาเป็นไปเพื่อดับตัณหาคือโพชฌงค์ ๗

๘. นิพเพธสูตร มรรคอันเป็นส่วนการแทงตลอดคือโพชฌงค์ ๗

๙. เอกกรรมสูตร โพชฌงค์ ๗ ย่อมเป็นไปเพื่อละธรรมเป็นที่ตั้งสังโยชน์

๑๐. อุทายิสูตร พระผู้มีพระภาคเจ้ารับรองมรรคที่พระอุทายีได้

 
  ข้อความที่ 20  
 
บ้านธัมมะ
วันที่ 10 ต.ค. 2564