ทรงเทศนาโปรดพระเจาพิมพิสาร
โดย chatchai.k  19 พ.ค. 2564
หัวข้อหมายเลข 34240

[เล่มที่ 6] พระวินัยปิฎก มหาวรรค เล่ม ๔ ภาค ๑ - หนาที่ 110 - 118

ทรงเทศนาโปรดพระเจาพิมพิสาร

เสด็จพระนครราชคฤหครั้งแรก

[๕๖] ครั้งนั้น พระผูมีพระภาคเจาประทับออยู ณ ตําบลคยาสีสะตาม พระพุทธาภิรมยแลว เสด็จจาริกไป โดยบรรดาอันจะไปสูพระนคราชคฤห พรอมดวยภิกษุสงฆหมูใหญจํานวน ๑๐๐๐ รูป ลวนเปนปุราณชฎิล เสด็จจาริก โดยลําดับถึงพระนครราชคฤหแลวทราบวา พระองคประทับอยูใตตนไทรชื่อ สุประดิษฐเจดียในสวนตาลหนุม เขตพระนครราชคฤหนั้น

[๕๗] พระเจาพิมพิสารจอมเสนามาคธราชไดทรงสดับขาวถนัดแนวา พระสมณโคตมศากยบุตรทรงผนวชจากศากยตระกูล เสด็จถึงพระนครราชคฤห โดยลําดับ ประทับอยู ใตตนไทรชื่อสุประดิษฐเจดียในสวนตาลหนุม เขต พระนครราชคฤห ก็แลพระกิตติศัพทอันงามของทานพระโคดมพระองคนั้น ขจรไปแลวอยางนี้วา แมเพราะเหตุนี้ ๆ พระผูมีพระภาคเจาพระองคนั้นทรงเปน พระอรหันต ตรัสรูเองโดยชอบ สมบูรณดวยวิชชาและจรณะ เสด็จไปดี ทรงทราบโลก ทรงเปนสารถีฝกบุรุษที่ควรฝก ไมมีผูอื่นยิ่งกวา เปนศาสดา ของเทพและมนุษยทั้งหลาย เปนผูเบิกบานแลว เปนผูจําแนกธรรม พระองค ทรงทําโลกนี้พรอมทั้งเทวโลก มารโลก พรหมโลก ใหแจงชัด ดวยพระ ปญญาอันยิ่งของพระองคเอง แลวทรงสอนหมูสัตวพรอมทั้งสมณะ พราหมณ เทพ และมนุษย ใหรู ทรงแสดงธรรมงามในเบื้องตน งามในทามกลาง งาม ในที่สุด ทรงประกาศพรหมจรรยพรอมทั้งอรรถทั้งพยัญชนะบริบูรณบริสุทธิ์ อนึ่ง การเห็นพระอรหันตทั้งหลายเห็นปานนั้น เปนความดี.

หลังจากนั้น พระเจาพิมพิสารจอมเสนามาคธราช ทรงแวดลอมดวย พราหมณคหบดีชาวมคธ ๑๒ นหุต เสด็จเขาไปเฝาพระผูมีพระภาคเจา ครั้น ถึงจึงถวายบังคมพระผูมีพระภาคเจา แลวประทับนั่ง ณ ที่ควรสวนขางหนึ่ง สวนพราหมณคหบดีชาวมคธ ๑๒ นหุต นั้นแล บางพวกถวายบังคมพระผู พระภาคเจาแลวนั่ง ณ ที่ควรสวนขางหนึ่ง บางพวกไดทูลปราศรัยกับพระผูมี พระภาคเจา ครั้นผานการทูลปราศรัยพอใหเปนที่บันเทิง เปนที่ระลึกถึงกันไป แลว จึงนั่ง ณ ที่ควรสวนขางหนึ่ง บางพวก ประคองอัญชลีไปทางที่พระผูมี พระภาคเจาประทับ แลวนั่ง ณ ที่ควรสวนขางหนึ่ง บางพวกประกาศนามและ โคตรในสํานักพระผูมีพระภาคเจา แลวนั่ง ณ ที่ควรสวนขางหนึ่ง บางพวก นั่งนิ่งอยู ณ ที่ควรสวนขางหนึ่ง ครั้งนั้น พราหมณคหบดีชาวมคธ ๑๒ นหุต นั้นไดความดําริวา พระมหาสมณะพระพฤติพรหมจรรยในทานอุรุเวลกัสสป หรือวาทานอุรุเวลกัสสปประพฤติพรหมจรรยในพระมหาสมณะ ลําดับนั้น พระ ผูมีพระภาคเจาทั้งทราบความดําริในใจของพราหมณคหบดีชาวมคธ ๑๒ นหุต นั้น ดวยพระทัยของพระองค ไดตรัสกะทานพระอุรุเวลกัสสปดวยพระคาถาวา ดังนี้.

ดูกอนทานผูอยูในอุรุเวลามานาน เคยเปนอาจารยสั่งสอนหมูชฎิลผู ผอม เพราะกําลังพรต ทานเห็นเหตุอะไรจึงยอมละเพลิงเสียเลา ? ดูกอนกัสสป เราถามเนื้อความนี้กะทาน ทานละเพลิงที่บูชาเสียทํา ไมเลา ?

ทานพระอุรุเวลกัสสปทูลตอบวา ยังทั้งหลายกลาวยกยองรูปเสียงและ รสที่นาปราถนา และสตรีทั้งหลาย ขาพระพุทธเจารูวานั้น เปนมลทินในอุปธิ ทั้งหลายแลว เพราะเหตุนั้น จึงไมยินดี ในการเชนสรวง ในการบูชา

พระผูมีพระภาคเจาตรัสถามวา ดูกอนกัสสป ก็ใจของทานไมยินดี แลวในอารมณ คือรูป เสียงและรสเหลานั้น ดูกอนกัสสป ก็เมื่อเปนเชนนั้น ใจของทานยินดีในสิ่งไรเลา ในเทวโลกหรือมนุษยโลก ทานจงบอกขอนั้นแก เรา

ทานพระอุรุเวลกัสสปทูลตอบวา ขาพระพุทธเจาไดเห็นทางอันสงบ ไมมีอุปธิ ไมกังวล ไมติดอยูในกามภพ ไมมีภาวะเปนอยางอื่น ไมใชธรรม ที่ผูอื่นแนะใหบรรลุ เพราะฉะนั้นจึงไมยินดี ในการเซนสรวง ในการบูชา



ความคิดเห็น 1    โดย chatchai.k  วันที่ 19 พ.ค. 2564

[๕๘] ลําดับนั้นทานพระอุรุเวลกัสสปลุกจากอาสนะ หมผาอุตราสงค เฉวียงบา ซบเศียรลงที่พระบาทของพระผูมีพระภาคเจา แลวไดกราบทูลพระผูมีพระภาคเจาวา พระพุทธเจาขา พระผูมีพระภาคเจาเปนพระศาสดาของ ขาพระพุทธเจา ขาพระพุทธเจาเปนสาวก พระผูมีพระภาคเจาเปนพระศาสดา ของขาพระพุทธเจา ขาพระพุทธเจาเปนสาวก พระพุทธเจาขา. ลําดับนั้น พราหมณคหบดีชาวมคธ ทั้ง ๑๒ นหุต นั้น ไดมีความ เขาใจวา ทานอุรุเวลกัสสปประพฤติพรหมจรรยในพระมหาสมณะ ครั้งนั้น พระผูมีพระภาคเจาทรงทราบความปริวิตกแหงจิตของพราหมณคหบดี ชาวมคธทั้ง ๑๒ นหุตนั้น ดวยพระทัยของพระองคแลว ทรงแสดงอนุปุพพิกถา คือ ทรงประกาศทานกถา สีลกถา สัคคกถา โทษ ความต่ําทราม ความ เศราหมองของกามทั้งหลาย และอานิสงสในความออกจากกาม เมื่อพระผูมีพระภาคเจาทรงทราบวา พวกเขามี จิตสงบ มีจิตออน มีจิตปลอดจากนิวรณ มีจิตเบิกบาน มีจิตผองใสแลว จึงทรงประกาศ พระธรรมเทศนา ที่พระพุทธเจาทั้งหลาย ทรงยกขึ้นแสดงดวยพระองคเอง คือทุกข สมุทัย นิโรธ มรรค ดวงตาเห็นธรรม ปราศจากธุลี ปราศจากมลทิน วาสิ่งใดสิ่งหนึ่งมีความเกิดขึ้นเปนธรรมดา สิ่งนั้นทั้งหมดมีความดับเปนธรรมดา ไดเกิดแก พราหมณคหบดีชาวมคธ ๑๑ นหุต ซึ่งมีพระเจาพิมพิสารเปนประมุข ณ ที่นั่ง นั้นแล ดุจผาที่สะอาด ปราศจากมลทิน ควรไดรับน้ํายอมเปนอยางดี ฉะนั้น พราหมณคหบดีอีก ๑ นหุต แสดงตนเปนอุบายสก


ความคิดเห็น 2    โดย chatchai.k  วันที่ 19 พ.ค. 2564

[๕๙] ครั้งนั้น พระเจาพิมพิสารจอมเสนามาคธราชไดทรงเห็นธรรม แลว ไดทรงบรรลุธรรมแลว ไดทรงรูธรรมแจมแจงแลว ทรงมีธรรมอันหยั่ง ลงแลว ทรงขามความสงสัยไดแลว ปราศจากถอยคําแสดงความสงสัย ทรง ถึงความเปนผูแกลวกลา ไมตองทรงเชื่อผูอื่นในคําสอนของพระศาสดา ได ทูลพระวาจานี้ตอพระผูมีพระภาคเจาวา ครั้งกอน เมื่อหมอมฉันยังเปนราชกุมาร ไดมีความปรารถนา ๕ อยาง บัดนี้ ความปรารถนา ๕ อยางนั้น ของ หมอมฉันสําเร็จแลว.

ความปรารถนา ๕ อยาง

๑. ครั้งกอน เมื่อหมอนฉันยังเปนราชกุมาร ไดมีความปรารถนาวา ไฉนหนอ ชนทั้งหลายพึงอภิเษกเราในราชสมบัติดังนี้ นี้เปนความปรารถนา ของหมอมฉันประการที่ ๑ บัดนี้ความปรารถนานั้น ของหมอมฉันสําเร็จแลว พระพุทธเจาขา.

๒. ขอพระอรหันตสัมมาสัมพุทธเจา พึงเสด็จมาสูแวนแควนของ หมอมฉันนั้น นี้เปนความปรารถนาของหมอมฉันประการที่ ๒ บัดนี้ ความ ปรารถนานั้น ของหมอมฉันสําเร็จแลว พระพุทธเจา.

๓. ขอหมอมฉันพึงไดเขาเฝาพระผูมีพระภาคเจาพระองคนั้น นี้เปน ความปรารถนาของหมอมฉันประการที่ ๓ บัดนี้ ความปรารถนานั้น ของหมอมฉันสําเร็จแลว พระพุทธเจาขา

๔. ขอพระผูมีพระภาคเจาพระองคนั้นพึงแสดงธรรมแกหมอมฉัน นี้ เปนความปรารถนาของหมอมฉันประการที่ ๔ บัดนี้ความปรารถนานั้น ของ หมอมฉันสําเร็จแลว พระพุทธเจาขา.

๕. ขอหมอมฉัน พึงรูตัวถึงธรรมของพระผูมีพระภาคเจาพระองคนั้น นี้เปนความปรารถนาของหมอนฉันประการที่ ๕ บัดนี้ ความปรารถนานั้น ของหมอมฉันสําเร็จแลว พระพุทธเจาขา.

พระพุทธเจาขา ครั้งกอนหมอมฉันยังเปนราชกุมาร ไดมีความ ปรารถนา ๕ อยางนี้ บัดนี้ความปรารถนา ๕ อยางนั้น ของหมอมฉันสําเร็จแลว ภาษิตของพระองคแจมแจงนัก. ภาษิตของพระองคไพเราะนัก พระพุทธเจาขา พระองคทรงประกาศธรรมโดยอเนกปริยายอยางนี้ เปรียบเหมือนบุคคลหงาย ของที่คว่ํา เปดของที่ปด บอกทางแกคนหลงทาง หรือสองประทีปในที่มืดดวย ตั้งใจวา คนมีจักษุจักเห็นรูป ดังนี้ หมอมฉันนี้ ขอถึงพระผูมีพระภาคเจา พระธรรมและพระภิกษุสงฆ วาเปนสรณะ ขอพระองคจงทรงจําหมอมฉัน วา เปนอุบายสกผูมอบชีวิตถึงสรณะ จําเติมแตวันนี้เปนตนไป และขอพระผูมีพระภาคเจาพรอมดวยภิกษุสงฆจงทรงรับภัตตาหารของหมอมฉัน ในวันพรุงนี้

พระผูมีพระภาคเจาทรงรับดวยดุษณีภาพ ครั้นพระเจาพิมพิสารจอมเสนามาคธราชทรงทราบการรับนิมนตของพระผูมีพระภาคเจาแลวเสด็จลุกจาก ทีประทับถวายบังคมพระผูมีพระภาคเจา ทรงทําประทักษิณแลวเสด็จกลับไป


ความคิดเห็น 3    โดย chatchai.k  วันที่ 19 พ.ค. 2564

[๖๐] หลังจากนั้น พระเจาพิมพิสารจอมเสนามาคธราช รับสั่งใหตก. แตงของเคี้ยวของฉันอันประณีตโดยผานราตรีนั้น แลวใหเจาพนักงานไปกราบ ทูลภัตกาลแดพระผูมีพระเจาวา ถึงเวลาแลว พระพุทธเจาขา ภัตตาหารเสร็จแลว ขณะนั้นเปนเวลาเขา พระผูมีพระภาคเจาทรงอันตรวาสกแลว ทรงถือบาตรจีวร เสด็จพระพุทธดําเนินสูพระนครราชคฤห พรอมดวยภิกษุสงฆหมูใหญ จํานวน ๑๐๐๐ รูป ลวนปุราณชฎิล


ความคิดเห็น 4    โดย chatchai.k  วันที่ 19 พ.ค. 2564

[๖๑] ก็โดยสมัยนั้นแล ทาวสักกะจอมทวยเทพทรงนิรมิตเพศเปน มาณพ เสด็จพระดําเนินนําหนาภิกษุสงฆมีพระพุทธเจาเปนประมุข พลางขับ คาถาเหลานั้น วาดังนี้:- คาถาสดุดีพระผูมีพระภาคเจา พระผูมีพระภาคเจา มีพระฉวีเสมอ ดวยลิ่มทองสิงดี ทรงฝกอินทรียแลว ทรง พนวิเศษแลว เสด็จประเวศสูพระนครราช- คฤหพรอมดวยพระปุราณชฎิลทั้งหลาย ผูฝก อินทรียแลว ผูพนวิเศษแลว

พระผูมีพระภาคเจา มีพระฉวีเสมอ ดวยลิ่มทองสิงคี ทรงพนแลว ทรงพนวิเศษ แลวเสด็จประเวศสูพระนครราชคฤหพรอม ดวยพระปุราณชฎิลทั้งหลาย ผูพนแลว ผู พนวิเศษแลว พระผูมีพระภาคเจามีพระฉวี เสมอดวยลิ่มทองสิงคี ทรงขามแลว ทรงพน วิเศษแลว เสด็จประเวศสูพระนครราชคฤห พรอมดวยพระปุราณชฎิลทั้งหลาย ผูพนแลว ผูพน วิเศษแลว

พระผูมีพระภาคเจา มีพระฉวีเสมอ ดวยลิ่มทองสิงคีทรงสงบแลว ทรงพนวิเศษ แลวเสด็จประเวศสูพระนครราชคฤหพรอม ดวยพระปุราณชฎิลทั้งหลาย ผูสงบแลว ผู พนวิเศษแลว. พระผูมีพระภาคเจาพระองคนั้นทรง มีอริยวาสธรรม ๑๐ ประการ เปนเครื่องอยู ทรงประกอบดวยพระกําลัง๑๐ ทรงทราบ ธรรม คือ กรรมบถ ๑๐ และทรงประกอบ ดวยธรรมอันเปนองคของพระอเสขะ ๑๐ มี ภิกษุบริวารพันหนึ่ง เสด็จประเวศสูพระนครราชคฤห


ความคิดเห็น 5    โดย chatchai.k  วันที่ 19 พ.ค. 2564

[๖๒] ประชาชนไดเห็นทาวสักกะจอมทวยเทพแลวพากันกลาวอยางนี้ วา พอหนุมนี้มีรูปงามยิ่งนัก นาดูนัก นาชมนัก พอหนุมนี้ของใครหนอ เมื่อประชาชนกลาวอยางนี้แลว ทาวสักกะจอมทวยเทพไดกลาวตอบประชาชน พวกนั้นดวยคาถา วาดังนี้:- พระผูมีพระภาคเจาพระองคใดเปน นักปราชญ ทรงฝกอินทรียทั้งปวงแลว เปน ผูผองแผวทาบุคคลเปรียบมีได ไกลจาก กิเลส เสด็จไปดีแลวในโลก ขาพเจาเปนผู รับใชของพระผูมีพระภาคเจาพระองคนั้น


ความคิดเห็น 6    โดย chatchai.k  วันที่ 19 พ.ค. 2564

ทรงรับพระเวฬุวันสังฆิกาวาส

[๖๓] ครั้งนั้น พระผูมีพระภาคเจาเสด็จพระพุทธดําเนินไปสูพระราชนิเวศนของพระเจาพิมพิสารจอมเสนามาคธราช ครั้นถึงแลว ประทับนั่ง เหนือพระพุทธอาสนที่เขาจัดถวายพรอมดวยภิกษุสงฆ จึงพระเจาพิมพิสารจอม เสนามาคธราช ทรงอังคาสภิกษุสงฆ มีพระพุทธเจาเปนประมุข ดวยขาทนียโภชนียาหารอันประณีต ดวยพระหัตถของพระองคจนใหพระผูมีพระภาคเจา เสวยเสร็จทรงนําพระหัตถออกจากบาตหามภัตแลว จึงประทับนั่ง ณ ที่ควร สวนขางหนึ่ง ทาวเธอไดทรงพระราชดําริวา พระผูมีพระภาคเจาพึงประทับ อยู ณ ที่ไหนดีหนอ ซึ่งจะเปนสถานที่ไมไกลไมใกลจากบานนัก สะดวกดวย การคมนาคม ควรที่ประชาชนผูตองประสงคจะเขาไปเฝาได กลางวันไมพลุก พลาน กลางคืนเงียบสงัด เสียงไมกึกกอง ปราศจากลมแตชนที่เดินเขาออก ควรเปนที่ประกอบกิจของผูตองการที่สงัด และควรเปนที่หลีกเรนอยูตามสมณวิสัย แลวไดทรงพระราชดําริตอไปวา สวนเวฬุวันของเรานี้แล ไมไกลไม ใกลจากบานนัก สะดวกดวยการคมนาคม ควรที่ประชาชนผูตองประสงคจะ พึงเขาไปเฝาได กลางวันไมพลุกพลาน กลางคืนเงียบสงัด เสียงไมกึกกอง ปราศจากลมแตชนที่เขาออก ควรเปนที่ประกอบกิจของผูตองการที่สงัด และ ควรเปนที่หลีกเรนอยูตามสมณวิสัย ผิฉะนั้น เราพึงถวายสวนเวฬุวันแกภิกษุ สงฆมีพระพุทธเจาเปนประมุข ดังนี้ ลําดับนั้น จึงทรงจับพระสุวรรณภิงคาร ทรงหลั่งน้ํานอมถวายแดพระผูมีพระภาคเจาดวยพระราชดํารัสวา หมอมฉัน ถวายสวนเวฬุวันนั่นแกภิกษุสงฆมีพระพุทธเจาเปนประมุข พระพุทธเจาขา. พระผูมีพระภาคเจาทรงรับอารามแลว และทรงชี้แจงใหพระเจาพิมพิสารจอมเสนามาคธราชทรงเห็นแจง สมาทาน อาจหาญ ราเริงดวยธรรมีกถา แลวเสด็จลุกจากที่ประทับเสด็จกลับ ตอมา พระองคทรงทําธรรมีกถาในเพราะเหตุเปนเคามูลนั้น แลวรับสั่งกะภิกษุทั้งหลายวา ดูกอนภิกษุทั้งหลาย เรา อนุญาตอาราม

ทรงเทศนาโปรดพระเจาพิมพิสาร จบ