ธรรม บัญญัติธรรม และปรมัตถธรรม
โดย majweerasak  27 ส.ค. 2550
หัวข้อหมายเลข 4653

ขอเชิญคลิกอ่านที่นี่

ความหมายของธัมมะในที่ต่างๆ



ความคิดเห็น 1    โดย study  วันที่ 27 ส.ค. 2550

ถูกครับ เพราะศัพท์ว่า ธัมมะ มีใช้กว้างขวางมากกว่าส่วนศัพท์ว่า ปรมัตถธรรม ใช้เจาะจงเฉพาะปรมัตถ์เท่านั้นสมดังข้อความในอรรถกถาอธิบายธัมมะศัพท์ ด้งนี้

ขอเชิญคลิกอ่านที่นี่

อรรถกถาอธิบายธัมมะศัพท์


ความคิดเห็น 2    โดย study  วันที่ 27 ส.ค. 2550

ขอเชิญคลิกอ่านที่นี่

ความหมายของธัมมะในที่ต่างๆ


ความคิดเห็น 3    โดย แล้วเจอกัน  วันที่ 27 ส.ค. 2550


ขออนุโมทนา



ความคิดเห็น 4    โดย pornchai.s  วันที่ 27 ส.ค. 2550

พุทธัง สรณัง คัจฉามิ


ความคิดเห็น 5    โดย olive  วันที่ 28 ส.ค. 2550
ขออนุโมทนาค่ะ

ความคิดเห็น 6    โดย Sam  วันที่ 28 ส.ค. 2550

ขออนุญาตร่วมสนทนาด้วยนะครับ

ผมเข้าใจว่า " ... บัญญัติธรรม เป็น ธรรม แต่ บัญญัติธรรม ไม่ใช่ ปรมัตถธรรม"

ส่วนการบรรยายของท่านอาจารย์นั้น (ผมคิดว่า) เพื่อให้ผู้ฟังเข้าใจได้ไม่ยาก ส่วนใหญ่ ท่านจึงกล่าวถึงธรรม ในความหมายของปรมัตถธรรม เช่น ไม่มีขณะใดเลยที่เว้นว่างจากธรรม (ไม่มีขณะใดเลยที่จะเว้นว่างจากปรมัตถธรรม) และมีบางครั้งที่ท่านกล่าวถึงธรรมที่หมายเฉพาะ สังขารธรรม (ไม่กล่าวรวมพระนิพพาน) เช่น นามธรรมเป็นสภาพรู้ (นามธรรมที่เป็นสังขารธรรมเป็นสภาพรู้) ทั้งนี้ ท่านคงหวังเกื้อกูลให้ผู้ฟังมีความเข้าใจที่มีประโยชน์ต่อการระลึกศึกษาสภาพธรรมตามความเป็นจริง มากกว่าการเรียนรู้แบบตำรา

อย่างไรก็ตาม ผู้ศึกษาเองก็ควรที่จะศึกษาความละเอียดให้มากยิ่งขึ้น โดยเฉพาะจากพระไตรปิฎก และการที่มีผู้กรุณานำข้อความโดยตรงจากพระไตรปิฎกที่เกี่ยวข้องกับหัวข้อที่สนทนา มาโพสต์ให้ได้อ่านกัน ก็นับเป็นความกรุณาและมีประโยชน์อย่างยิ่งครับ

ขออนุโมทนา


ความคิดเห็น 7    โดย แล้วเจอกัน  วันที่ 29 ส.ค. 2550

อนุโมทนาด้วยนะครับ บัญญัติมีได้อาศัยปรมัตถ์


ความคิดเห็น 8    โดย majweerasak  วันที่ 30 ส.ค. 2550

ขอบพระคุณทุกท่านครับ


ความคิดเห็น 9    โดย yu_da2554hotmail  วันที่ 21 ก.ค. 2566

ยินดีในกุศลจิตค่ะ